Page 347 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 347

323


                   นักศึกษาบางเชื้อชาติหรือบางภาษาได๎รับความเสียเปรียบนักศึกษาบางเชื้อชาติหรือบางภาษา ดังนี้อาจจัด
                   วําเข๎าเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติได๎





                   4.6 มาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก (Affirmative action) กับหลักความเท่าเทียมกัน


                           การปฏิบัติแตกตํางกันตํอสิ่งที่เหมือนกันโดยหลักแล๎วเป็นการเลือกปฏิบัติโดยตรง (Direct
                   Discrimination) ซึ่งขัดตํอหลักความเทําเทียมกันเชิงรูปแบบ (Forma Equlaity) อยํางไรก็ตาม การปฏิบัติ
                   ที่เหมือนกันในบางกรณีอาจเกิดผลกระทบทําให๎กลุํมบุคคลซึ่งเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ
                   เสียเปรียบได๎ เชํน การออกกฎ มาตรการ ที่มีลักษณะเป็นกลาง (Neautral)  อันมีเนื้อหาสาระเชํนเดียวกัน

                   สําหรับทุกคน แตํสํงผลกระทบให๎บุคคลที่อยูํในฐานะด๎อยกวําและจัดอยูํในกลุํมเชื้อชาติ สีผิว บางกลุํมไมํ
                   สามารถได๎รับสิทธิหรือโอกาสที่เทําเทียมกับบุคคลอื่น ดังนี้ การปฏิบัติที่เหมือนกันกลับสํงผลให๎เกิดการเลือก
                   ปฏิบัติในความเป็นจริงหรือโดยพฤตินัย (De  facto  Discrimination)  ด๎วยเหตุนี้ จึงมีการพิจารณาหลัก
                   ความเทําเทียมกันในเชิงสาระ (Substantive  Eqaulity)  ซึ่งมีความหมายกว๎างกวําความเทําเทียมกันเชิง

                   รูปแบบ กลําวคือ ในบางกรณีอาจมีความจําเป็นต๎อง ปฏิบัติตํอสิ่งที่เหมือนกันแตกตํางกัน ทั้งนี้เพื่อเป็นการ
                   สํงเสริม สนับสนุน หรือชํวยเหลือ บุคคลบางกลุํมให๎ได๎รับโอกาสและความเทําเทียมกับบุคคลอื่นในสภาพ
                   ความเป็นจริง โดยนัยนี้ จึงเกิดแนวคิดการกําหนดมาตรการบางอยํางขึ้นมาเพื่อให๎สิทธิหรือโอกาสแกํบุคคล

                   บางกลุํมเป็นพิเศษ (Preferential  Treatment)  ซึ่งอาจเรียกวํา “มาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก”
                                                                                     210
                   (Affirmative Action) หรืออาจเรียกวํา “มาตรการพิเศษ” (Special measure)


                           ในบริบทของกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศนั้น มาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกปรากฏใน
                   หลายคดี เชํน L. R. et al. v. Slovakia, Communication No. 31/2003, U.N. Doc. CERD/C/66/D/31
                                 211
                   /2003  (2005).   ซึ่งเป็นกรณีรัฐบาลท๎องถิ่นกําหนดมาตรการที่อยูํอาศัยราคาต่ํา (Low-cost  housing)
                   สําหรับผู๎ยากจน ตํอมารัฐบาลท๎องถิ่นยกเลิกมาตรการดังกลําว จึงมีการร๎องเรียนวําการยกเลิกนั้นฝุาฝืนตํอ
                                        212
                   สิทธิที่จะได๎รับที่อยูํอาศัย  กรรมการเห็นวํา การยกเลิกมาตรการดังกลําวมีผลกระทบตํอสิทธิในการได๎รับ
                                                   213
                   ที่อยูํอาศัยตาม ICERD  และ ICESCR   โดยรัฐบาลไมํปฏิบัติตามพันธกรณีเพื่อรับรองสิทธิของบุคคลใน
                   ความเทําเทียมกันภายใต๎กฎหมาย (Equality Before the Law) ในการได๎มาซึ่งสิทธิในที่อยูํอาศัย







                   210
                        กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศบางฉบับเรียกว่า “มาตรการพิเศษ” (Special measure) เช่น  ข้อ 1.4 ของอนุสัญญา
                   CERD   อย่างไรก็ตาม ในงานวิจัยนี้ใช้ค าว่า “มาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก”  (Affirmative measure) ซึ่งมีความหมายเช่นเดียวกัน
                   211  L. R. et al. v. Slovakia, Communication No. 31/2003, U.N. Doc. CERD/C/66/D/31/2003 (2005).
                   212  Article 5(e)(iii), International Convention on the Elimination of all forms of Racial Discrimination
                   (ICERD).
                   213
                      Article 11
   342   343   344   345   346   347   348   349   350   351   352