Page 344 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 344

320


                   หนึ่ง แตํก็อยูํในมาตราเดียวกัน ในขณะที่รัฐธรรมนูญตํางประเทศ เชํน แคนาดา กลําวถึงหลักความเทําเทียม

                   กันและการห๎ามเลือกปฏิบัติไว๎ในวรรคเดียวกัน แตํเมื่อพิจารณาจากโครงสร๎างการบัญญัติรัฐธรรมนูญใน
                   หลายประเทศดังกลําวแล๎วจะเห็นได๎วํา การเลือกปฏิบัตินั้นเป็นส่วนขยายของหลักความเสมอภาคหรือ

                   หลักความเท่าเทียมกันนั่นเอง หรืออาจกลําวได๎วําหลักการเลือกปฏิบัตินั้นเป็นส่วนหนึ่งของหลักความ

                   เสมอภาคดังจะเห็นได๎จากคําพิพากษาศาลที่ตัดสินตามหลักการนี้ เชํน คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ฟ.
                   18/2547 อธิบายวํา “ มาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย บัญญัติให๎บุคคลยํอมเสมอกันใน

                   กฎหมายและได๎รับความคุ๎มครองตามกฎหมายเทําเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเทําเทียมกัน การเลือก
                   ปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอบุคคลเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ

                   สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะทางบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา
                   การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันขัดตํอบทบัญญัติแหํงรัฐธรรมนูญ จะกระทํามิได๎ ซึ่งเป็น

                   การวางหลักการให๎รัฐปฏิบัติตํอบุคคลบนพื้นฐานความเสมอภาคเทําเทียมกัน ทั้งนี้ โดยไม่ออกหลักเกณฑ์

                   ให้มีผลปฏิบัติที่แตกต่างกันต่อบุคคลที่เหมือนกันในสาระส าคัญอย่างเดียวกัน หรือไม่ออกหลักเกณฑ์ให้
                   มีผลปฏิบัติอย่างเดียวกันต่อบุคคลที่แตกต่างกันในสาระส าคัญ” ศาลปกครองยังได๎อธิบายหลักความเสมอ

                   ภาคตามรัฐธรรมนูญไว๎ ในคําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.22/2551 มีใจความสําคัญวํา “หลักความ

                   เสมอภาคตามรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มีหลักวําจะต้องปฏิบัติต่อสิ่งที่มี
                   สาระส าคัญเหมือนกันอย่างเท่าเทียมกัน และจะต้องปฏิบัติต่อสิ่งที่มีสาระส าคัญที่แตกต่างกันให้แตกต่าง

                   กันไป ในสํวนตํอไปจะได๎พิจารณาแนวคําพิพากษาศาลไทย โดยใช๎หลักความเทําเทียมกันเชิงรูปแบบ และ
                   หลักความเทําเทียมกันเชิงสาระ


                           - กรณีพิพาทเกี่ยวกับกฎ ซึ่งศาลพิจารณาวํากฎที่พิพาทใช๎กับ ที่ดิน ที่เกาะ ซึ่งผู๎ครอบครองยังมิไดมี

                   หลักฐานการครอบครองทุกแหงเสมอเหมือนกัน (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ ฟ.8 – ฟ.10/2546) จะ
                   เห็นได๎วําคดีนี้เกี่ยวข๎องกับความเทําเทียมกันในเชิงรูปแบบ (Formal Equality) กลําวคือเนื้อหาของกฎนี้ใช๎
                   กับบุคคลที่เหมือนกันอยํางเทําเทียมกัน


                           - การประเมินผลงานโดยจัดแบงขาราชการออกเปน 2 กลุม แตก็ใชหลักเกณฑเดียวกันและ
                   พิจารณาครบถวนตามหลักเกณฑทุกดาน ศาลจึงเห็นวาการประเมินผลการปฏิบัติงานในการพิจารณาแต
                   งตั้งครั้งนี้ไมเปนการเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรมตอผูฟองคดีแตอยางใด (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ อ.

                   134/2548) จะเห็นได๎วําคดีนี้เกี่ยวข๎องกับความเทําเทียมกันในเชิงรูปแบบหรือเนื้อหา (Formal equality)
                   กลําวคือ หลักเกณฑ์การประเมินเดียวกันสําหรับผู๎ถูกประเมินเพื่อเข๎าสูํตําแหนํงเดียวกัน


                           - การกําหนดเงื่อนไขบางอยํางกับผู๎ยื่นขอดํารงตําแหนํงเดียวกับบุคคลอื่น ซึ่งบุคคลอื่นที่ขอดํารง
                   ตําแหนํงเดียวกันไมํต๎องกระทําการตามเงื่อนไขนั้น กรณีเชํนนี้ศาลเห็นวํามีการปฏิบัติตํอบุคคลประเภท
                   เดียวกันให๎แตกตํางกันในสาระสําคัญอันเป็นการเลือกปฏิบัติ”  (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.
   339   340   341   342   343   344   345   346   347   348   349