Page 345 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 345

321


                   41/2552) กรณีนี้จะเห็นได๎วําเกี่ยวข๎องกับความเทําเทียมกันในเชิงรูปแบบหรือเนื้อหา (Formal Equality)
                   กลําวคือ เนื้อหาเงื่อนไขที่กําหนดขึ้นมาเห็นได๎ชัดวํามีความแตกตํางกันระหวํางบุคคลที่เหมือนกัน


                           - การกําหนดให๎สิทธิพิเศษแกํผู๎ได๎รับปริญญาตรีเกียรตินิยมเป็นการให๎สิทธิเหนือกวําหรือดีกวําผู๎ที่
                   ได๎รับปริญญาตรีในสาขาเดียวกันแตํไมํได๎รับเกียรตินิยม ทั้งๆ ที่ได๎รับวุฒิอยํางเดียวกัน ซึ่งมีศักดิ์และสิทธิที่

                   สถาบันการศึกษารับรองเชํนเดียวกัน จึงเป็นการปฏิบัติตํอบุคคลที่มีสถานะทางกฎหมายที่เหมือนกันให๎
                   แตกตํางกัน ยํอมถือได๎วําเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม”  (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่
                   อ.158/2550,  คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.379/2550)  กรณีนี้จะเห็นได๎วําเกี่ยวข๎องกับความเทํา
                   เทียมกันในเชิงรูปแบบหรือเนื้อหา (Formal Equality) กลําวคือ ภายใต๎สมมุติฐานวําบุคคลที่ได๎รับปริญญา

                   เกียรตินิยมและไมํได๎เกียรตินิยมมีความ “เหมือนกัน”  เนื่องจากจบปริญญาตรีเชํนเดียวกัน ดังนั้น การ
                   กําหนดให๎สิทธิพิเศษแกํผู๎ได๎เกียรตินิยมจึงเป็นกรณีที่แสดงออกชัดเจนโดยเนื้อหาวํามีการปฏิบัติตํอบุคคล
                   แตกตํางกัน


                           - การกําหนดคําทดแทนการเวนคืนที่แตกตํางกันแกํที่ดินซึ่งมีสภาพเหมือนกัน เป็นการเลือกปฏิบัติ
                   (คําพิพากษาศาลปกครองกลางที่  1272/2545)  กรณีนี้จะเห็นได๎วําเกี่ยวข๎องกับความเทําเทียมกันในเชิง
                   รูปแบบหรือเนื้อหา (Formal Equality) กลําวคือ โดยหลักการแล๎ว ที่ดินซึ่งเหมือนกันควรจะต๎องได๎รับคํา

                   ทดแทนที่เทําเทียมกัน ดังนั้นการกําหนดคําทดแทนแตกตํางกันกับที่ดินเหมือนกันจึงเป็นการเลือกปฏิบัติ


                           - ผู๎ครอบครองที่ดินที่ถูกเวนคืนเหมือนกัน แตํถูกแบํงกลุํมและให๎คําทดแทนไมํเทํากัน ขัดกับหลัก
                   ความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่
                   อ.22/2551) กรณีนี้จะเห็นได๎วําเกี่ยวข๎องกับความเทําเทียมกันในเชิงรูปแบบหรือเนื้อหา (Formal
                   Equality)  เนื่องจากมีการแบํงกลุํมคนที่ “เหมือนกัน”  ออกเป็นสองกลุํมและปฏิบัติตํอบุคคลแตํละกลุํม
                   แตกตํางกันออกไป


                           - กฎเกณฑ์ที่พิพาทสํงผลให๎เกิดการปฏิบัติที่แตกตํางกัน ซึ่ง เป็นไปโดยมิไดมีบทบัญญัติแหงกฎ
                   หมายจํากัดคุณสมบัติดานตําแหนงไวเป็นการเฉพาะ กอใหเกิดความไมเทาเทียมระหวางผูมีสิทธิกับผูไมมี

                   สิทธิในการเลือกตั้ง และเขารับการเลือกตั้ง โดยไมเปนธรรมและไมมีเหตุผลอันอาจรับฟงได อันขัดตอหลัก
                   ความเสมอภาค ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย  (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ฟ.17/2551)
                   กรณีนี้จะเห็นได๎วําเกี่ยวข๎องกับความเทําเทียมกันในเชิงรูปแบบหรือเนื้อหา (Formal Equality) เนื่องจาก

                   สามารถเปรียบเทียบได๎วําเกิดความแตกตํางกันระหวํางบุคคลสองกลุํมที่มีลักษณะ “เหมือนกัน”  โดยกลุํม
                   หนึ่งมีสิทธิเลือกตั้งและเข๎ารับการเลือกตั้ง ในขณะที่อีกกลุํมหนึ่งไมํมีสิทธิเลือกตั้งและไมํมีสิทธิเข๎ารับการ
                   เลือกตั้ง


                           - มติของผู๎ถูกฟูองคดี (คณะรัฐมนตรี)  ในการให๎สิทธิพิเศษแกํองค์การโทรศัพท์แหํงประเทศไทย
                   (ทศท.) ในการให๎บริการเลขหมายโทรศัพท์แกํหนํวยงานของรัฐ อันมีผลทําให๎ผู๎ฟูองคดีซึ่งเป็นคูํสัญญารํวม
                   การงานและรํวมลงทุนกับ ทศท.  ไมํอาจให๎บริการแกํหนํวยงานของรัฐได๎  ….และมีลักษณะเป็นการเลือก

                   ปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมตํอสิทธิตามสัญญาฯ ของผู๎ฟูองคดี ซึ่งขัดกับหลักความเสมอภาคตามที่มาตรา 30 ของ
   340   341   342   343   344   345   346   347   348   349   350