Page 343 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 343

319


                           รูปแบบที่สอง กําหนดจําแนกหลักความเทําเทียมกัน ออกเป็น 2 กรณี คือ ความเสมอภาคหรือ

                   ความเทําเทียมกัน และ หลักการห๎ามเลือกปฏิบัติ โดยมิได๎จําแนกความเสมอภาคเฉพาะเรื่องออกจากความ
                   เสมอภาคทั่วไป โดยในรูปแบบนี้อาจจําแนกได๎เป็น 2 รูปแบบยํอย คือ



                           - จ าแนกหลักความเสมอภาค ออกจาก หลักการห้ามเลือกปฏิบัติ โดยก าหนดไว้คนละวรรค เชํน
                   แอฟริกาใต๎ สิงค์โปร์ มาเลเซีย



                           - ก าหนดหลักความเสมอภาคและการห้ามเลือกปฏิบัติไว้รวมในวรรคเดียวกัน เชํน แคนาดา


                           รูปแบบที่สาม ไมํระบุถึงหลักความเสมอภาคหรือหลักความเทําเทียมไว๎ โดยมีเพียงกําหนด
                   หลักการ “ห๎ามเลือกปฏิบัติ” เชํน สวีเดน



                           ผู๎วิจัยมีข๎อสังเกตเพิ่มเติมวํา การที่รัฐธรรมนูญไทยกําหนดหลักความเทําเทียมกันเฉพาะเรื่องแยก

                   ออกมาตํางหากนั้นมีลักษณะใกล๎เคียงกับรูปแบบของเยอรมัน ซึ่งแตกตํางจากรัฐธรรมนูญอีกหลายประเทศ
                   ที่มิได๎กําหนดหลักความเทําเทียมกันเฉพาะเรื่องไว๎ แตํทั้งนี้เหตุเฉพาะตํางๆ นั้นก็ปรากฏอยูํในเหตุแหํงการ

                   ห๎ามเลือกปฏิบัตินั่นเอง อยํางไรก็ตามรัฐธรรมนูญของไทยมีข๎อแตกตํางกับเยอรมันคือ แม๎กําหนดหลักความ
                   เทําเทียมเฉพาะเรื่องเฉพาะในสํวนของเหตุแหํงเพศเชํนเดียวกับรัฐธรรมนูญเยอรมัน แตํรัฐธรรมนูญเยอรมัน

                   ยังมีบทมาตราอื่นที่กําหนดหลักความเสมอภาคเฉพาะเรื่องอื่นๆ เชํน ความมีสถานะเทําเทียมกันระหวํางเด็ก
                   ที่เกิดนอกสมรสกับเด็กที่บิดามารดาสมรสกันตามกฎหมาย ความเสมอภาคของชาวเยอรมันในการรับ

                   ราชการ เป็นต๎น




                           4.5.4 วิเคราะห์หลักความเท่าเทียมกันตามกฎหมายไทย


                           รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยฉบับปี 2540 และ 2550 ตํางบัญญัติรับรองถึงความเทําเทียมกัน

                   ไว๎ สําหรับหลักการห๎ามเลือกปฏิบัตินั้นเป็นการคุ๎มครองให๎บุคคลได๎รับการปฏิบัติที่เทําเทียมและเสมอภาค

                   กันตามหลักดังกลําว ทั้งนี้จะเห็นได๎วํา รัฐธรรมนูญของไทยทั้งฉบับปี 2540 และ 2550 กําหนดหลักความ
                   เสมอภาคหรือความเทําเทียมกันไว๎ในวรรคแรกของมาตรา 30 ดังนั้นอาจกลําวได๎วํา โดยหลักแล๎ว

                   รัฐธรรมนูญมุํงคุ๎มครองความเทําเทียมกัน โดยมีการขยายความวํา การเลือกปฏิบัติถือเป็นการกระทําที่ขัด
                   ตํอหลักความเสมอภาค ซึ่งโดยหลักแล๎วไมํสามารถกระทําได๎ สําหรับโครงสร๎างการกําหนดหลักความเสมอ

                   ภาคที่เริ่มจากการกําหนดหลักความเสมอภาคทั่วไป ตามด๎วยหลักการห๎ามเลือกปฏิบัตินั้น จะเห็นได๎จาก
                   รัฐธรรมนูญหลายประเทศ เชํน เยอรมัน แอฟริกาใต๎ ฟินแลนด์ อยํางไรก็ตาม รัฐธรรมนูญของไทยนั้นได๎แยก

                   หลักความเทําเทียมกันออกเป็นวรรคหนึ่งตํางหาก โดยวางหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติแยกออกมาเป็นอีกวรรค
   338   339   340   341   342   343   344   345   346   347   348