Page 342 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 342

318


                           หากเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญสวีเดน จะพบวํา มิได๎บัญญัติหลักความเสมอภาคหรือความเทํา
                   เทียมกันโดยทั่วไปไว๎ แตํมีการวางหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติ (แตํมีข๎อสังเกตวํา ไมํได๎ใช๎คําวํา

                   “Discrimination”  โดยใช๎คําวํา “Unfavourable  treatment” ซึ่งอาจแปลวํา การปฏิบัติอันเป็นที่พึง
                   พอใจน๎อยกวํา หรือ การกีดกัน) โดยวางหลักห๎ามเลือกปฏิบัติเฉพาะกรณี กลําวคือ มาตรา 15 (การห๎าม
                   เลือกปฏิบัติตํอชนกลุํมน๎อย (Minority) และ มาตรา16 (และการห๎ามเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํง “เพศ”)


                           หากเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญสิงค์โปร์จะพบวํา โครงสร๎างของการบัญญัติหลักความเสมอภาค
                   และการห๎ามเลือกปฏิบัติ แตกตํางจากโครงสร๎างรัฐธรรมนูญเยอรมันและไทย เนื่องจาก วรรคแรก วางหลัก

                   ความเสมอภาคทั่วไป วรรคสองกําหนดหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติ โดยมิได๎มีการจําแนกหลักความเสมอภาค

                   เฉพาะเรื่องแตํอยํางไร โครงสร๎างลักษณะนี้คล๎ายคลึงกับ รัฐธรรมนูญแอฟริกาใต้ ซึ่งมีการบัญญัติหลักความ
                   เสมอภาคทั่วไป (มาตรา 9 วรรคแรก)  และ หลักการห๎ามเลือกปฏิบัติ (มาตรา 9 วรรคสาม และ วรรคสี่)

                   ทั้งนี้รัฐธรรมนูญมิได๎จําแนกความเสมอภาคทั่วไป กับ ความเสมอภาคเฉพาะเรื่อง เชํน เพศ ดังเชํน
                   รัฐธรรมนูญไทย เยอรมัน ฟินแลนด์



                           สําหรับ รัฐธรรมนูญของมาเลเซีย นั้นมีรูปแบบโครงสร๎างการวางหลักความแสมอภาคโดยเริ่มจาก
                   วางหลักความเสมอภาคทั่วไป (มาตรา 8 วรรคแรก)  หลักการห๎ามเลือกปฏิบัติ (มาตรา 8 วรรคสอง วรรค
                   สาม) และ หลักการห๎ามเลือกปฏิบัติเฉพาะกรณีศาสนา (มาตรา 12) จะเห็นได๎วํา รัฐธรรมนูญมาเลเซีย ไมํมี

                   การวางหลักความเสมอภาคเฉพาะกรณี เชํน ความเสมอภาคระหวํางเพศ ดังเชํนรัฐธรรมนูญของไทย
                   เยอรมัน ฟินแลนด์ โดยมีเพียงหลักความเสมอภาคทั่วไป และ หลักการห๎ามเลือกปฏิบัติซึ่งจําแนกเป็นกรณี
                   ตํางๆ


                            หากเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญแคนาดาจะพบวํา รัฐธรรมนูญแคนาดามีโครงสร๎างการบัญญัติ

                   หลักความเสมอภาคและการห๎ามเลือกปฏิบัติที่แตกตํางออกไปอีกรูปแบบหนึ่ง กลําวคือ กําหนดการห๎าม
                   เลือกปฏิบัติไว๎เป็นสํวนหนึ่งของหลักความเทําเทียมกัน โดยรวมอยูํในมาตรา 15 (1) ทั้งหมด โดยมิได๎จําแนก

                   หลักความเสมอภาคทั่วไป หลักความเสมอภาคเฉพาะเรื่อง และหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติออกจากกันเป็นคน
                   ละวรรค



                           จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบโครงสร๎างของรัฐธรรมนูญในสํวนที่เกี่ยวกับการวางหลักความเสมอ
                   ภาคหรือความเทําเทียมกันดังกลําวแล๎ว อาจจําแนกรูปแบบและโครงสร๎างของรัฐธรรมนูญในการบัญญัติ

                   หลักความเทําเทียมกันได๎ 3 รูปแบบดังนี้


                           รูปแบบแรก กําหนดจําแนกหลักความเทําเทียมกัน ออกเป็น 3 กรณี คือ ความเสมอภาคหรือความ

                   เทําเทียมกันทั่วไป ความเสมอภาคเฉพาะเรื่อง และ หลักห๎ามเลือกปฏิบัติ เชํน เยอรมัน ไทย ฟินแลนด์
   337   338   339   340   341   342   343   344   345   346   347