Page 340 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 340
316
ที่ตีความมาตรา 12 วํา “มุํงคุ๎มครองปัจเจกชนให๎มีสิทธิได๎รับการปฏิบัติที่เทําเทียมกันกับบุคคลอื่นใน
สถานการณ์เชํนเดียวกัน (Similar Circumstances)”
208
ศาลสูงสุดได๎ตีความมาตรา 12 ในคดี Public Prosecutor v. Taw Cheng Kong โดยวาง
เกณฑ์สําหรับพิจารณาวํากฎหมายหรือมาตรการที่พิพาทนั้น เป็นการเลือกปฏิบัติที่ขัดตํอรัฐธรรมนูญมาตรา
12 หรือไมํ เกณฑ์ดังกลําวมีสองขั้น (Stages) ดังนี้
ขั้นแรก พิจารณาวํา กฎหมายนั้นปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันหรือไมํ หากผลการพิจารณาชี้วํา
กฎหมายนั้นไมํได๎ปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกัน กฎหมายนั้นก็ผํานเกณฑ์นี้ และไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติ แตํ
หากกฎหมายนั้นปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกัน ก็จะต๎องพิจารณาขั้นที่สองตํอไป
ขั้นที่สอง พิจารณาวํา กฎหมายที่ปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันนั้น อยูํบนพื้นฐานเหตุผลการจําแนก
ความแตกตํางที่ชอบหรือไมํ ในการนี้จะต๎องแยกพิจารณาเป็นสองกรณีคือ
กรณีแรก พิจารณาวํา การจําแนกความแตกตํางระหวํางบุคคลในกลุํมหนึ่งกับบุคคลที่อยูํนอกกลุํม
นั้น อยูํบนพื้นฐานเหตุผลที่สามารถเข๎าใจได๎หรือไมํ หากผลการพิจารณาชี้วํา ไมํอยูํบนพื้นฐานเหตุผลที่
เข๎าใจได๎ กฎหมายนั้นก็เป็นการเลือกปฏิบัติที่ขัดตํอรัฐธรรมนูญ แตํหากอยูํบนพื้นฐานเหตุผลที่เข๎าใจได๎ ก็
จะต๎องพิจารณาในกรณีที่สองตํอไป
กรณีที่สอง พิจารณาวํา การปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้นมีความสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ที่ต๎องการบรรลุ
หรือไมํ หากผลการพิจารณาชี้วํา มีความสัมพันธ์กัน หรืออาจกลําวได๎วํากฎหมายซึ่งเป็นวิธีการในการบรรลุ
เปูาหมายนั้นได๎สัดสํวนกับเปูาหมายที่ต๎องการบรรลุ กฎหมายนั้นก็ผํานเกณฑ์นี้ และไมํถือเป็นการเลือก
ปฏิบัติ แตํหากกฎหมายนั้นไมํมีความสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ที่ต๎องการบรรลุ กฎหมายนั้นก็ไมํผํานเกณฑ์
กลําวคือ เป็นการเลือกปฏิบัติที่ขัดตํอรัฐธรรมนูญ
4.5.3 วิเคราะห์เปรียบเทียบโครงสร้างการก าหนดหลักความเท่าเทียมกันตามรัฐธรรมนูญ
ประเทศต่างๆ
208
Public Prosecutor v. Taw Cheng Kong [1998] 2 S.L.R.(R.) 489