Page 341 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 341

317


                           หากพิจารณาโครงสร๎างการบัญญัติหลักความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญของไทยเปรียบเทียบกับ

                   รัฐธรรมนูญเยอรมัน จะเห็นได๎วํา รัฐธรรมนูญทั้งสองประเทศมีโครงสร๎างการบัญญัติหลักความเสมอภาค
                   และการห๎ามเลือกปฏิบัติในลักษณะคล๎ายคลึงกัน กลําวคือ วรรคแรก วางหลักความเสมอภาคทั่วไป วรรค

                   สองก าหนดหลักความเสมอภาคเฉพาะเรื่อง และ วรรคสามก าหนดหลักการห้ามเลือกปฏิบัติ อยํางไรก็

                   ตามข๎อแตกตํางที่สําคัญประการหนึ่งก็คือ ในกรณีของหลักห๎ามเลือกปฏิบัตินั้น รัฐธรรมนูญเยอรมันกําหนด
                   “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ”  ไว๎น๎อยกวํารัฐธรรมนูญของไทย กลําวคือ รัฐธรรมนูญเยอรมันมาตรา 3 วรรค

                   สามครอบคลุม “ เพศ เชื้อชาติ สัญชาติ ภาษา ถิ่นกําเนิด เผําพันธุ์ ความเชื่อ ความคิดในทางศาสนาหรือ
                   การเมือง ความพิการ”  โดยรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ครอบคลุม “ ถิ่นกําเนิด

                   เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือ
                   สังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมือง”  อยํางไรก็ตาม การระบุ

                   คุณลักษณะตามที่กําหนดไว๎ในรัฐธรรมนูญเยอรมันนั้นเป็นการทําให๎เกิดความแนํใจขั้นต่ําที่สุดตํอการเลือก

                   ปฏิบัติ สํวนความแตกตํางในลักษณะอื่นๆ นอกจากที่กําหนดไว๎ในมาตรา 3 วรรคสาม จะต๎องพิจารณาตาม
                                                              209
                   หลักความเสมอภาคทั่วไปตามมาตรา 3 วรรคหนึ่ง  จะเห็นได๎วํา หากเป็นกรณีเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ
                   อื่นๆ ที่มิได๎บัญญัติไว๎ในสํวนหลักห๎ามเลือกปฏิบัติโดยเฉพาะ ก็ยังจะได๎รับการคุ๎มครองตามหลักความเสมอ

                   ภาคทั่วไป สําหรับรัฐธรรมนูญของไทยนั้น มีการกําหนดเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติหลายเหตุที่อาจตีความ
                   ครอบคลุมได๎กว๎าง เชํน “สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม”

                   อยํางไรก็ตามหากมีกรณีเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติที่ไมํอาจจัดอยูํในเหตุดังกลําว หากพิจารณาตามแนวทาง
                   ของเยอรมันก็อาจตีความให๎อยูํในความคุ๎มครองของหลักความเสมอภาคหรือความเทําเทียมกันทั่วไปตาม

                   วรรคแรกได๎เชํนกัน


                           จากการศึกษารัฐธรรมนูญฟินแลนด์ดังที่กลําวมาแล๎วในบทที่ 3 จะเห็นได๎วํา รัฐธรรมนูญฟินแลนด์
                   มีรูปแบบโครงสร๎างเริ่มจากวางหลักความเสมอภาคทั่วไป (มาตรา 6 วรรคแรก) จากนั้นวางหลักห๎ามเลือก

                   ปฏิบัติ (มาตรา 6 วรรคสอง) ตํอมาจึงวางหลักความเสมอภาคเฉพาะกรณี “เด็ก” (มาตรา 6 วรรคสาม)
                   และ หลักความเสมอภาคเฉพาะกรณี “เพศ” (มาตรา 6 วรรคสี่) หากเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญของไทย
                   และเยอรมันจะพบวํา รัฐธรรมนูญฟินแลนด์ในส่วนที่เกี่ยวกับหลักความเสมอภาคนั้น จ าแนกหลักความ

                   เสมอภาคออกเป็น 3 กรณี เชํนเดียวกัน กลําวคือ หลักความเสมอภาคทั่วไป หลักความเสมอภาคเฉพาะ
                   และ หลักการห๎ามเลือกปฏิบัติ สําหรับหลักความเสมอภาคเฉพาะนั้น รัฐธรรมนูญฟินแลนด์ เยอรมัน และ
                   ไทย ตํางกําหนดหลักความเสมอภาคเฉพาะกรณีเหตุแหํง “เพศ” แตํรัฐธรรมนูญฟินแลนด์มีการบัญญัติหลัก
                   ความเสมอภาคเฉพาะกรณี “เด็ก” เพิ่มเติมขึ้นด๎วย







                   209
                      บรรเจิด สิงคะเนติ, เรื่องเดิม, หน๎า 44.
   336   337   338   339   340   341   342   343   344   345   346