Page 338 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 338

314


                           ความผูกพันของฝ่ายตุลาการต่อหลักความเสมอภาค อาจจําแนกได๎เป็น 3 กรณีคือ ความเสมอ

                   ภาคของประชาชนในการเข๎าถึงศาล ความเสมอภาคของประชาชนตํอหน๎าศาล และ ความเสมอภาคในการ
                   ใช๎กฎหมายโดยตุลาการตํอประชาชน





                           4.5.2.4 หลักความเสมอภาคตามกฎหมายสวีเดน


                           รัฐธรรมนูญสวีเดน วางหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติในมาตรา 15 และ 16 ดังนี้


                           มาตรา 15 วางหลักวํา “กฎหมายหรือบทบัญญัติใดๆ จะต๎องไมํกํอให๎เกิดการปฏิบัติตํอพลเมืองใน
                   ลักษณะกีดกันเนื่องจากการที่พลเมืองคนนั้นเป็นสมาชิกชนกลุํมน๎อย ด๎วยเหตุแหํงเชื้อชาติ สีผิว ชาติ
                   กําเนิด”


                           มาตรา 16 วางหลักวํา “กฎหมายหรือบทบัญญัติใดๆ จะต๎องไมํกํอให๎เกิดการปฏิบัติตํอพลเมืองใน
                   ลักษณะกีดกันด๎วยเหตุแหํงเพศ เว๎นแตํบทบัญญัติดังกลําวเป็นสํวนหนึ่งของมาตรการสํงเสริมความเทําเทียม

                   กันระหวํางชายและหญิง”

                           นอกจากรัฐธรรมนูญแล๎ว สวีเดนยังมีกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับการห๎ามเลือกปฏิบัติ คือ กฎหมาย

                   การเลือกปฏิบัติ (Discrimination  Act)  ซึ่งมีลักษณะเป็นกฎหมายกลางครอบคลุมมิติตํางๆและเหตุตํางๆ
                   ของการเลือกปฏิบัติ


                           จะเห็นได๎วํารัฐธรรมนูญสวีเดน มิได๎กําหนดหลักความเสมอภาคหรือความเทําเทียมเอาไว๎ใน
                   ลักษณะแยกตํางหากจากหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติ แตํวางหลักห๎ามเลือกปฏิบัติไว๎เป็นหลัก ทั้งนี้เพื่อนําไปสูํ
                   การคุ๎มครองความเสมอภาคหรือความเทําเทียมกันนั่นเอง







                           4.5.2.5 หลักความเท่าเทียมกันตามกฎหมายฟินแลนด์


                           รัฐธรรมนูญฟินแลนด์ กําหนดหลักการเกี่ยวกับความเทําเทียมกันและการห๎ามเลือกปฏิบัติไว๎ใน
                   มาตรา 6 วํา


                           “บุคลทุกคนเทําเทียมกันภายใต๎กฎหมาย
   333   334   335   336   337   338   339   340   341   342   343