Page 337 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 337

313


                   กฎหมายหรือที่เรียกวํา ความเสมอภาคของกฎหมาย ซึ่งหลักดังกลําวมีผลมาจากความเกี่ยวเนื่องกันระหวําง
                                                       202
                   มาตรา 3 วรรคหนึ่งกับ มาตรา 1 วรรคสาม


                           หลักความเสมอภาคเฉพาะเรื่อง ตามมาตรา 3 วรรคสอง เชํน ความมีสิทธิเทําเทียมกันระหวําง

                   หญิงและชาย นอกจากนี้ยังมีหลักความเสมอภาคเฉพาะเรื่องอื่นๆ ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว๎ เชํน ความมี
                   สถานะเทําเทียมกันระหวํางเด็กที่เกิดนอกสมรสกับเด็กที่บิดามารดาสมรสกันตามกฎหมาย ความเสมอภาค

                   ของชาวเยอรมันในการรับราชการ เป็นต๎น


                           หลักข้อห้ามมิให้มีการเลือกปฏิบัติ ตามมาตรา 3 วรรคสาม ซึ่งมีขอบเขตคุ๎มครองในกรณีที่การ

                   ปฏิบัติอยํางไมํเทําเทียมกันในกรณีใดกรณีหนึ่งนั้นมีผลมาจากคุณสมบัติตามที่ได๎บัญญัติไว๎ จึงเป็นกรณีที่การ
                   กระทําของรัฐจะกระทําตํอบุคคลนั้นหรือไมํหรือจะปฏิบัติตํอบุคคลนั้นอยํางไรโดยได๎เชื่อมโยงกับคุณสมบัติ

                   ดังกลําว


                           รัฐธรรมนูญเยอรมัน มาตรา 1 (3) มีหลักวํา “สิทธิขั้นพื้นฐานผูกพันตํอฝุายนิติบัญญัติ ฝุายบริหาร

                   และ ฝุายตุลาการ โดยให๎ถือวําเป็นสิทธิที่มีผลผูกพันโดยตรง” จะเห็นได๎วําหลักความเสมอภาคตาม

                   รัฐธรรมนูญเยอรมันผูกพันองค์กรที่ใช๎อํานาจรัฐ จึงอาจจําแนกพิจารณาหลักความเสมอภาคได๎อีก 3 กรณี
                        203
                   ได๎แกํ

                           ความผูกพันของฝ่ายนิติบัญญัติต่อหลักความเสมอภาค กรณีนี้จะเกี่ยวข๎องกับความเสมอภาคใน

                   การบัญญัติกฎหมาย หรือ ความเสมอภาคของกฎหมาย ซึ่งหมายความวํากฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งนั้น

                   จะต๎องบัญญัติให๎เป็นการทั่วไป มีผลใช๎บังคับกับทุกคน ห๎ามมิให๎มีการบัญญัติกฎหมายอันเป็นการจํากัดสิทธิ
                   และเสรีภาพให๎มีผลใช๎บังคับกับบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือกรณีใดกรณีหนึ่งเป็นการเฉพาะ



                           ความผูกพันต่อฝ่ายปกครองต่อหลักความเสมอภาค กรณีนี้ฝุายปกครองจะกระทําการใดที่เป็น
                   การละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานได๎ก็แตํเฉพาะกรณีที่กฎหมายกําหนดไว๎เทํานั้น นอกจากนี้จะมีการละเมิดหลัก

                   ความเสมอภาคเมื่อฝุายปกครองปฏิบัติตํอกรณีเฉพาะเรื่องตั้งแตํ 2 กรณีขึ้นไปโดยปฏิบัติให๎แตกตํางกัน
                   สําหรับขอบเขตของการใช๎ดุลพินิจของฝุายปกครองนั้น หลักความเสมอภาคก็ถือวําเป็นข๎อจํากัดการใช๎

                   ดุลพินิจของฝุายปกครอง โดยหากฝุายปกครองจะใช๎ดุลพินิจแตกตํางจากแนวปฏิบัติที่ผํานมาก็จะต๎อง

                   คํานึงถึงหลักความเสมอภาคด๎วย



                   202  รัฐธรรมนูญเยอรมัน มาตรา 1 (3) มีหลักวํา “สิทธิขั้นพื้นฐานผูกพันตํอฝุายนิติบัญญัติ ฝุายบริหาร และ ฝุายตุลาการ
                   โดยให๎ถือวําเป็นสิทธิที่มีผลผูกพันโดยตรง”
                   203
                      เรื่องเดิม, หน๎า 145-152.
   332   333   334   335   336   337   338   339   340   341   342