Page 336 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 336

312


                   ตํางๆหลายปัจจัยมาประกอบการพิจารณาวํากฎเกณฑ์หรือมาตรการนั้นสํงผลให๎เกิดความไมํเทําเทียมกัน
                   เชิงระบบ (Systematic Inequality) หรือไมํ ในการนี้ ปัจจัยสําคัญที่ศาลพิจารณาคือผลกระทบที่เกิดจาก

                   กฎเกณฑ์หรือมาตรการที่พิพาทวําสํงผลกระทบในทางลบ (Adverse Effect หรือ Detriment Effect) ตํอผู๎
                   อ๎างวําถูกเลือกปฏิบัติหรือไมํ ซึ่งการพิจารณาจากผลกระทบนี้ เป็นหลักการเดียวกับการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อม
                   (Indirect  Discrimination)  นั่นเอง อยํางไรก็ตาม หลักการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อมมิได๎ระบุไว๎อยํางขัดเจนใน
                   รัฐธรรมนูญแคนาดา และศาลก็มิได๎วางหลักไว๎ชัดเจนถึงความแตกตํางระหวํางการเลือกปฏิบัติโดยตรงและ

                   โดยอ๎อม



                           4.5.2.3 หลักความเท่าเทียมกันตามกฎหมายเยอรมัน

                                                                                 200
                           รัฐธรรมนูญเยอรมันกําหนดหลักความเสมอภาคไว๎ในมาตรา 3 ดังนี้

                           (1) บุคคลยํอมเสมอภาคกันตํอหน๎ากฎหมาย


                           (2) ชายและหญิงมีสิทธิเทําเทียมกัน ให๎รัฐดําเนินการสนับสนุนเพื่อบรรลุเปูาหมายแหํงความมีสิทธิ

                   เทําเทียมกันของหญิงและชาย และกํอให๎เกิดผลในการขจัดความไมํเทําเทียมกันที่มีอยูํ



                           (3) บุคคลไมํอาจจะถูกเลือกปฏิบัติได๎เพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องเพศ เชื้อชาติ สัญชาติ
                   ภาษา ถิ่นกําเนิด เผําพันธุ์ ความเชื่อ ความคิดในทางศาสนาหรือการเมือง บุคคลไมํอาจได๎รับการปฏิบัติ

                   อยํางเสียเปรียบเพราะเหตุแหํงความพิการของบุคคลนั้น





                           จากหลักการตามรัฐธรรมนูญเยอรมันทั้งสามวรรคดังกลําว อาจจําแนกหลักความเสมอภาคได๎เป็น

                                 201
                   3 กรณี กลําวคือ

                           หลักความเสมอภาคทั่วไป ตามมาตรา 3 วรรคหนึ่ง ซึ่งเป็นข๎อเรียกร๎องทั่วไปถึงความเทําเทียมกัน

                   ในการใช๎กฎหมาย หรือที่เรียกวํา ความเสมอภาคตํอกฎหมาย กับ หลักความเสมอภาคในการบัญญัติ










                   200  บรรเจิด สิงคะเนติ, หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2558), หน๎า
                   129.
                   201
                      เรื่องเดิม, หน๎า 130-144.
   331   332   333   334   335   336   337   338   339   340   341