Page 333 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 333

309


                   มาตรา 15 หรือไมํ โจทก์อ๎างวําตนถูกเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงอายุ แตํศาลเห็นวํากฎเกณฑ์ที่ให๎เงินอุดหนุน
                   แตกตํางกันระหวํางบุคคลอายุต่ํากวํา 30 และอายุเกิน 30 นั้นมิได๎แสดงให๎เห็นวํากลุํมใดกลุํมหนึ่งได๎รับการ

                   ปฏิบัติในลักษณะที่เกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ถูกลดคุณคําลงเมื่อเทียบกับอีกกลุํมหนึ่ง ดังนี้จะ
                   เห็นได๎วํา ในแงํหนึ่งการนําเอาปัจจัยอื่นๆ เชํน เกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มาประกอบการ
                   พิจารณาวํากฎเกณฑ์หรือนโยบายนั้นเลือกปฏิบัติอันขัดตํอหลักความเทําเทียมกันหรือไมํ เป็นการพิจารณา
                   หลักความเทําเทียมอยํางกว๎างในกรอบแนวคิด ความไมํเทําเทียมกันเชิงระบบ (Systematic  Inequality)

                   แตํอีกนัยหนึ่ง การกําหนดให๎โจทก์ต๎องพิสูจน์แสดงให๎เห็นความมีอยูํของปัจจัยอื่นๆ ด๎วยนั้น อาจเป็นภาระ
                   ของฝุายโจทก์เชํนกัน


                           แม๎การนําปัจจัยอื่นๆ เข๎ามาประกอบเพื่อบํงชี้วํามีความไมํเทําเทียมกันในเชิงสาระเกิดขึ้นอันเป็น
                   การฝุาฝืนหลักความเทําเทียมกันตามรัฐธรรมนูญ แตํศาลก็ยอมรับวําการนําปัจจัยเกี่ยวกับเกียรติและ
                                                                                         193
                   ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์มาประกอบการบํงชี้ดังกลําวนั้นอาจสร๎างความยุํงยากขึ้น  โดยเฉพาะสําหรับ
                   โจทก์ในการกลําวอ๎าง เนื่องจากเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ก็มีลักษณะเป็นนามธรรมและอัต
                       194
                   วิสัย

                                                                                           195
                           นอกจากนี้ ในปี 2008 ศาลสูงสุดได๎ตัดสินคดีสําคัญคือ Canada in R. v. Kapp  คดีนี้เกิดขึ้นจาก
                   การอุทธรณ์คําพิพากษาของศาลมลรัฐ British Columbia ซึ่งมีประเด็นวํา การที่รัฐออกใบอนุญาตประมง
                   ให๎กับกลุํมชนพื้นเมืองบางกลุํมเป็นพิเศษนั้น เป็นการละเมิดตํอหลักความเทําเทียมกันและการห๎ามเลือก
                   ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญแคนาดามาตรา 15 หรือไมํ ศาลสูงสุดตัดสินวํา กรณีนี้เป็นการปฏิบัติที่แตกตํางกัน
                   (Distinction) ของโปรแกรมของรัฐบาล อันเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติที่ระบุในรัฐธรรมนูญ แตํไมํ

                   เป็นการเลือกปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ โดยศาลได๎นําปัจจัย 2 ประการมาประกอบการพิจารณาคือ
                   วัตถุประสงค์ของโปรแกรม และ กลุํมบุคคลเปูาหมายของโปรแกรม (Target  Group)  ซึ่งได๎แกํบุคคลผู๎
                   เสียเปรียบหรือมีโอกาสด๎อยกวํากลุํมอื่น ศาลจึงเห็นวําโปรแกรมของรัฐบาลนั้นจึงมีวัตถุประสงค์ที่ไมํขัดแย๎ง

                   กับรัฐธรรมนูญเนื่องจากสํงเสริมให๎กลุํมผู๎เสียเปรียบได๎มีโอกาสที่เทําเทียมกันบุคคลอื่นๆ

                           จะเห็นได๎วํา คําตัดสินของศาลข๎างต๎น สะท๎อนให๎เห็นวํา ศาลยอมรับ หลักความเทําเทียมกันเชิง

                   สาระ (Substantive Equality) เชํนเดียวกับคดี Andrews v. Law Society of British Columbia โดย
                   ตีความวํารัฐธรรมนูญครอบคลุมถึงการคุ๎มครองบุคคลจากนโยบาย กฎหมาย แนวปฏิบัติใดๆซึ่งสํง
                   ผลกระทบกํอให๎เกิดความไมํเทําเทียมกัน (In Effect Create Inequality) โดยในการพิจารณาดังกลําว ศาล
                   มิได๎พิจารณาเฉพาะรูปแบบภายนอกของกฎเกณฑ์ มาตรการ หรือโปรแกรมที่พิพาทเทํานั้น แตํยังนําเอา

                   ปัจจัยอื่นๆ เชํน วัตถุประสงค์ของกฎเกณฑ์นั้นและผลกระทบที่เกิดจากกฎเกณฑ์นั้นมาประกอบ ทั้งนี้เพื่อ




                   193  R v. Kapp 2008 SCC 41 (Supreme Court of Canada)
                   194  Ontario Human Rights Commission v. Simpsons-Sears Ltd [1985] 2 SCR 53 (Supreme Court of
                   Canada) at paras.21,22
                   195
                      Canada in R. v. Kapp , SCC 41, [2008] 2 S.C.R. 483, 294 D.L.R. (4th)
   328   329   330   331   332   333   334   335   336   337   338