Page 334 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 334
310
นําไปสูํความเทําเทียมกันในเชิงสาระหรือในผลลัพธ์ที่มุํงหมายให๎เกิดความเทําเทียมกันด๎วยการคํานึงถึง
ความแตกตํางระหวํางบุคคลด๎วย
หลักห๎ามการเลือกปฏิบัตินั้นมีความสัมพันธ์กับหลักความเทําเทียมกัน ดังจะเห็นได๎จากคดีที่ศาล
พิจารณาการเลือกปฏิบัติภายใต๎กรอบของหลักความเทําเทียมกัน เชํน Law v. Canada (Minister of
196
Employment and Immigration)
ศาลสูงสุดตัดสินวําวางเกณฑ์พิจารณาวํากฎเกณฑ์หรือมาตรการที่ปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันนั้น
จะเป็นการเลือกปฏิบัติหรือไมํ จะต๎องพิจารณา 3 ประเด็น ดังนี้
1. กฎเกณฑ์ที่พิพาทนั้นได๎กําหนดหลักการที่แตกตํางกัน (Differential treatment) ระหวํางบุคคล
ผู๎อ๎างวําได๎รับผลกระทบกับบุคคลอื่นหรือไมํ ทั้งในเชิงวัตถุประสงค์ และผลกระทบ (In purpose or effect)
2. การปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้นเกิดขึ้นจากพื้นฐานของเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติที่ระบุไว๎หรือไมํ
3. กฎเกณฑ์ที่พิพาทนั้นมีวัตถุประสงค์หรือสํงผลกระทบให๎เกิดการเลือกปฏิบัติตามความหมายของ
ความเทําเทียมกันที่ได๎รับการคุ๎มครองตามรัฐธรรมนูญหรือไมํ
จากประเด็นพิจารณาที่ 3 จะเห็นได๎วํา หลักการเลือกปฏิบัตินั้นไมํสามารถแยกพิจารณาตํางหากได๎
แตํต๎องพิจารณาภายใต๎กรอบหลักการสําคัญอันเป็นจุดหมายของการห๎ามเลือกปฏิบัติ ซึ่งก็คือหลักความเทํา
เทียมกันนั่นเอง
4.5.2.2.1 หลักความเท่าเทียมกันและการเลือกปฏิบัติโดยอ้อม
การพิจารณาหลักความเทําเทียมกันตามรัฐธรรมนูญแคนาดา ด๎วยกรอบอยํางกว๎าง ซึ่งมิได๎จํากัดอยูํ
แตํรูปแบบหรือเนื้อหาภายนอกของมาตรการนั้น โดยจะครอบคลุมถึงผลกระทบในทางลบ (Adverse
Effect) จากมาตรการนั้นอันเกิดขึ้นกับบุคคลด๎วย ดังที่ศาลสูงสุดได๎อธิบายไว๎ในคดี Ontario Human
197
Rights Commission v. Simpsons-Sears Ltd วํา วัตถุประสงค์ของหลักความเทําเทียมกันมิใชํอยูํที่
การลงโทษผู๎กระทําการอันเป็นการเลือกปฏิบัติ (Discriminator) แตํคือการบรรเทาผลร๎าย (relief) ของ
196 Law v. Canada (Minister of Employment and Immigration), [1999] 1 S. C. R. 497
197 Ontario Human Rights Commission v. Simpsons-Sears Ltd [1985] 2 SCR 53 (Supreme Court of
Canada)