Page 332 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 332

308


                           (2) ความใน (1)  ไมํใช๎กับกรณีที่ กฎหมาย โปรแกรม หรือกิจกรรมใดๆซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อการ

                   เยียวยาบุคคลหรือกลุํมบุคคลที่อยูํภายใต๎สภาวะหรือเงื่อนไขที่เสียเปรียบ ด๎วยเหตุเชื้อชาติ สัญชาติ ชาติ
                   พันธุ์ สีผิว ศาสนา เพศ อายุ ความพิการทางกายหรือจิต


                           ประเด็นสําคัญในการตีความและพิจารณาคดีเกี่ยวกับความเทําเทียมกันตามรัฐธรรมนูญแคนาดา

                   คือ ความเทําเทียมกันนี้ จะมีความหมายแคบ จํากัดเฉพาะรูปแบบหรือเนื้อหากฎเกณฑ์หรือมาตรการวํามี
                   การปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันหรือไมํ หรือจะมีความหมายกว๎าง โดยพิจารณาจากผลกระทบตํอบุคคลอัน
                   เกิดจากกฎเกณฑ์หรือมาตรการนั้นด๎วย


                           หากพิจารณาตามกฎหมายแคนาดา จะพบวํา ได๎มีการยอมรับหลักความเทําเทียมกันเชิงสาระ
                   (Substantive  Equality)  ดังจะเห็นได๎จากคดีสําคัญเชํน Andrews  v.  Law  Society  of  British
                             189
                   Columbia   ซึ่งศาลตัดสินวํา รัฐธรรมนูญมิได๎เพียงแตํรับรองความเทําเทียมกันเชิงรูปแบบ (Formal
                   equality)  เทํานั้น แตํยังรวมถึงความเทําเทียมกันเชิงสาระ (Substantive  equality)  ด๎วย รัฐธรรมนูญ
                   แคนาดามิได๎เพียงคุ๎มครองปัจเจกบุคคลจากการเลือกปฏิบัติโดยรัฐซึ่งกระทําโดยเจตนา (Intentional
                   Discrimination by the State) แตํยังครอบคลุมถึงการคุ๎มครองบุคคลจากนโยบาย กฎหมาย แนวปฏิบัติ
                   ใดๆ ซึ่งสํงผลกระทบกํอให๎เกิดความไมํเทําเทียมกัน (In Effect Create Inequality)


                           นอกจากนี้พบวํา ศาลแคนาดายังนําหลักความไมํเทําเทียมกันเชิงระบบ (Systematic Inequality)
                   มาปรับใช๎ด๎วย กลําวคือ มิได๎พิจารณาเฉพาะหลักฐานของการเลือกปฏิบัติโดยเจาะจงของกฎหรือมาตรการ

                   อันใดอันหนึ่ง แตํพิจารณาวํามีความไมํเทําเทียมกันหรือไมํจากผลรวมของปัจจัยหลายประการซึ่งมี
                                                                 190
                   ปฏิสัมพันธ์กัน (Numerous Factors which Interact)

                           ศาลในคดี Law v. Canada อธิบายวํา ความเทําเทียมกันหมายความวําสังคมจะไมํสามารถทนตํอ
                   กฎหมายที่แตกตํางกันโดยสํงผลตํอบุคคลบางกลุํมให๎กลายเป็นพลเมืองชั้นสอง ทําให๎คุณคําของบุคคล
                   เหลํานั้นลดลง หรือปฏิบัติตํอบุคคลเหลํานั้นเสมือนหนึ่งมีความสามารถหรือสิทธิที่ด๎อยกวําโดยปราศจาก

                   เหตุผลอันสมควรหรือเป็นการลํวงละเมิดตํอเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ จะเห็นได๎วําศาลนํา
                   แนวคิดเกี่ยวกับเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (Human  Dignity)  มาประกอบการพิจารณาถึง
                                                             191
                   ความไมํเทําเทียมกันอันเกิดจากกฎเกณฑ์ตํางๆด๎วย

                                                                   192
                           อยํางไรก็ตาม ในคดี Gosselin  v.  Quebec  ซึ่งมีประเด็นพิจารณาวํา กฎเกณฑ์เกี่ยวกับ
                   สวัสดิการที่ให๎สิทธิแกํบุคคลแตกตํางกันด๎วยเหตุแหํงอายุนั้น ขัดตํอหลักความเทําเทียมกันตามรัฐธรรมนูญ



                   189
                      Andrews v. Law Society of British Columbia [1989] 1 SCR 143 (Supreme Court of Canada)
                   190  Action Travail des Femmes v. Canadian National Railway Company [1987] 1 SCR 1114 (Supreme
                   Court of Canada)
                   191  Law v. Canada [1999] 1 SCR 497 (Canadian Supreme Court) at para. 51
                   192
                      Gosselin v. Quebec 2002 [SCC] 84 (Canadian Supreme Court)
   327   328   329   330   331   332   333   334   335   336   337