Page 331 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 331
307
- มีวิธีการทางเลือกอื่นที่ทําให๎เกิดความเสียเปรียบน๎อยกวํา และสามารถนํามาใช๎เพื่อบรรลุ
วัตถุประสงค์ที่ชอบด๎วยกฎหมายนั้นหรือไมํ
นอกจากนี้ หลักการดังกลําวปรากฏในกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับความเทําเทียมกันในด๎านแรงงาน
(Employment Equity Act 1998) ซึ่งมีหลักการคุ๎มครองความเทําเทียมกันโดยห๎ามการเลือกปฏิบัติที่ไมํ
เป็นธรรมทั้งโดยตรงและโดยอ๎อม
ดังนั้น อาจกลําวได๎วํา ในระบบกฎหมายแอฟริกาใต๎นั้น มิได๎พิจารณาความเทําเทียมกันเฉพาะ
เนื้อหาของมาตรการหรือกฎเกณฑ์อันใดอันหนึ่งวําปฏิบัติตํอบุคคลเหมือนหรือแตกตํางกัน (Formal
equality) แตํมีแนวทางพิจารณาหลักความเทําเทียมกันในกรอบเชิงสาระ (Substantive Equality) โดยใช๎
ปัจจัยตํางๆหลายปัจจัยมาประกอบการพิจารณาวํากฎเกณฑ์หรือมาตรการนั้นสํงผลให๎เกิดความไมํเทําเทียม
กันเชิงระบบ (Systematic Inequality) หรือไมํ ซึ่งเป็นแนวทางเดียวกับแคนาดา โดยปัจจัยสําคัญที่ศาล
พิจารณาคือผลกระทบที่เกิดจากกฎเกณฑ์หรือมาตรการที่พิพาทวําสํงผลกระทบในทางลบ (Adverse
Effect) ตํอผู๎อ๎างวําถูกเลือกปฏิบัติหรือไมํ ซึ่งการพิจารณาจากผลกระทบนี้ เป็นหลักการเดียวกับการเลือก
ปฏิบัติโดยอ๎อม (Indirect Discrimination) นั่นเอง ซึ่งในจุดนี้พบวํารัฐธรรมนูญแอฟริกาใต๎ได๎บัญญัติ
จําแนกการเลือกปฏิบัติออกเป็นสองกรณีคือการเลือกปฏิบัติโดยตรงและโดยอ๎อมไว๎อยํางชัดเจน ดังนั้นอาจ
กลําวได๎วํา หลักความเทําเทียมกันตามกฎหมายแอฟริกาใต๎นั้นครอบคลุมการห๎ามเลือกปฏิบัติโดยตรงอันฝุา
ฝืนหลักความเทําเทียมรูปแบบ (Formal Equality) และการห๎ามเลือกปฏิบัติโดยอ๎อมอันฝุาฝืนหลักความ
เทําเทียมกันในเชิงสาระ (Substantive Equality)
.
4.5.2.2 หลักความเท่าเทียมกันตามกฎหมายกฎหมายแคนาดา
หลักความเทําเทียมกันปรากฏอยํางชัดเจนในรัฐธรรมนูญแคนาดา (Canadian Charter of Rights
and Freedoms) ซึ่งมาตรา 15 วางหลักเกี่ยวกับความเทําเทียมกัน (Equality Rights) ไว๎ดังนี้
(1) บุคคลทุกคนเทําเทียมกันภายใต๎กฎหมายและมีสิทธิที่จะได๎รับการคุ๎มครองและได๎รับประโยชน์
ตามกฎหมายที่เทําเทียมกันโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติ โดยเฉพาะอยํางยิ่งปราศจากการเลือกปฏิบัติด๎วย
เหตุเชื้อชาติ สัญชาติ ชาติพันธุ์ สีผิว ศาสนา เพศ อายุ ความพิการทางกายหรือจิต