Page 328 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 328

304


                           ตามกฎหมายสิทธิพลเมืองสหรัฐอเมริกา (Civil  Right  Act)  นั้น การฟูองคดีด๎วยเหตุเลือกปฏิบัติ
                   โดยนายจ๎างนั้นโจทก์ต๎องแสดงวําการปฏิบัติเกี่ยวกับการจ๎างงานของนายจ๎างนั้นกํอให๎เกิดผลกระทบทางลบ
                                                                181
                   ด๎วยเหตุแหํงเชื้อชาติ สีผิว ศาสนา เพศ ชาติกําเนิด  นายจ๎างอาจตํอสู๎โดยแสดงวําการปฏิบัติเชํนนั้น
                                                                              182
                   เกี่ยวข๎องและจําเป็นกับงานและสอดคล๎องกับความจําเป็นทางธุรกิจ  แตํแม๎กระนั้นลูกจ๎างผู๎ถูกเลือก
                                                                                     183
                   ปฏิบัติยังอาจตํอสู๎ได๎อีกวํานายจ๎างยังมีหนทางเลือกอื่น (Alternative Practice)  ซึ่งกํอให๎เกิดผลกระทบ
                   ในทางลบน๎อยกวําเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์อันชอบธรรมที่นายจ๎างอ๎างนั้น


                           อยํางไรก็ตาม การนําปัจจัยผลกระทบทางลบมาพิจารณานั้นจํากัดอยูํเฉพาะในคดีการเลือกปฏิบัติ
                   ในบริบทของกฎหมายสิทธิพลเมือง เนื่องจากหากเป็นกรณีการเลือกปฏิบัติซึ่งเอกชนเรียกร๎องสิทธิตํอรัฐตาม
                                                      184
                   รัฐธรรมนูญนั้น ศาลสูงสุดเคยวางหลักไว๎วํา  กฎเกณฑ์ที่พิพาทยังไมํอาจถือได๎วําเป็นการเลือกปฏิบัติอันจะ
                   ขัดตํอรัฐธรรมนูญเพียงเพราะมีผลกระทบในทางลบหรือผลกระทบอยํางไมํได๎สัดสํวน กลําวคือ แม๎วําเจตนา
                   (Intention) มิใชํองค์ประกอบสําคัญในการพิจารณาตามกฎหมายสิทธิพลเมือง แตํโจทก์จะต๎องแสดงให๎เห็น
                   วํารัฐบาลมีเจตนาในการเลือกปฏิบัติ เพื่อที่จะพิสูจน์วํารัฐบาลฝุาฝืนหลักความเทําเทียมกันตามรัฐธรรมนูญ

                   ฉบับแก๎ไขครั้งที่ 14

                           จะเห็นได๎วํา ปัจจัยการพิจารณาความเทําเทียมกันจากผลกระทบเชิงลบ (Disparate Impact) นั้น

                   เป็นการพิจารณาจากผลที่เกิด (Effect) จากมาตรการหรือกฎเกณฑ์ที่พิพาทหรืออ๎างวําเป็นการเลือกปฏิบัติ
                   นั้น ดังนั้น หลักการพิจารณาผลกระทบเชิงลบอันมุํงไปสูํความเทําเทียมกันเชิงสาระ (Substantive
                   Equality) นั้นก็คือการมุํงขจัดการเลือกปฏิบัติทางอ๎อม (Indirect Discrimination) นั่นเอง หรืออาจกลําว
                   ได๎อีกนัยหนึ่งวํา การเลือกปฏิบัติโดยอ๎อมนั้นแม๎วําไมํขัดตํอหลักความเทําเทียมกันในเชิงรูปแบบ (Form)

                   เพราะโดยเนื้อหาภายนอกแล๎ว กฎเกณฑ์หรือมาตรการนั้นใช๎บังคับกับทุกคนโดยไมํเลือกปฏิบัติ แตํหาก
                   สํงผลกระทบทางลบให๎เกิดความไมํเทําเทียมกันในทางปฏิบัติระหวํางบุคคลแล๎วก็จะขัดตํอหลักความเทํา
                   เทียมกันในเชิงสาระ (Substance)



                           4.5.2 หลักความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกันตามกฎหมายต่างประเทศ


                           ในสํวนนี้จะชี้ให๎เห็นหลักความเสมอภาคหรือหลักความเทําเทียมกันตามกฎหมายประเทศตํางๆ ซึ่ง
                   อาจมีการระบุรับรองไว๎ในรัฐธรรมนูญ รวมทั้งอาจระบุไว๎ในกฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข๎อง





                           4.5.2.1 หลักความเท่าเทียมกันตามกฎหมายแอฟริกาใต้


                   181  42 USC 2000e-2(k)(1)(A)(i)
                   182  42 USC 2000e-2(k)(1)(A)(i)
                   183  42 USC 2000e-2(k)(1)(A)(ii) and (C)
                   184
                      Washington v. Davis 426 US 229, 96 S Ct 2040 (1976) (US Supreme Court) at 239
   323   324   325   326   327   328   329   330   331   332   333