Page 326 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 326
302
แนวคิดหรือทัศนคติของสังคมที่สํงผลให๎เกิดการปฏิบัติอันนําไปสูํความไมํเสมอภาคหรือความไมํเทํา
เทียมกันก็คือ การปฏิบัติตํอบุคคลนั้นบนพื้นฐานของกลุํมที่บุคคลนั้นเกี่ยวข๎อง โดยการสร๎าง “ภาพ
มาตรฐาน” (Standard Image) หรือ แนวคิดมาตรฐานสําหรับบุคคลประเภทใดประเภทหนึ่ง แล๎วปฏิบัติ
ตํอบุคคลทั้งหมดที่จัดอยูํในประเภทนั้นเหมือนกันโดยไมํคํานึงถึงความแตกตํางในระดับปัจเจกชนของแตํละ
175
คนในกลุํม ภาพมาตรฐาน ดังกลําวนี้อาจเรียกวํา ภาพเหมารวม “Stereotype” ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ
176
อคติ (Prejudice) และการเลือกปฏิบัติ (Discrimination) กลําวคือ ภาพเหมารวมอาจเกิดขึ้นโดย
ปราศจากสํานึกของบุคคล โดยมีอคติเป็นสํวนประกอบอันหนึ่ง สําหรับการเลือกปฏิบัตินั้นจัดเป็น
สํวนประกอบเชิงพฤติกรรมของปฏิกิริยาอันมีอคตินั้น หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ภาพเหมารวมสะท๎อนถึงความ
คาดหมายและความเชื่อเกี่ยวกับคุณสมบัติหรือคุณลักษณะของบุคคลในกลุํม โดยอคติแสดงถึงการ
ตอบสนองทางอารมณ์ตํอความเชื่อดังกลําว ในขณะที่การเลือกปฏิบัติเป็นการแสดงออกเชิงพฤติกรรมหรือ
177
การกระทําของภาพเหมารวมนั้น โดยนัยนี้จะเห็นได๎วํา การเลือกปฏิบัติเป็นผลอันแสดงให๎เห็นอยํางเป็น
รูปธรรมจากพฤติกรรม ซึ่งสาเหตุของพฤติกรรมดังกลําวเกี่ยวข๎องกับภาพเหมารวมอันเป็นปัจจัยภายในด๎าน
ความเชื่อหรือทัศนคติของบุคคลนั่นเอง
เนื่องจากภาพเหมารวม สํงผลให๎เกิดพฤติกรรมอันเป็นการเลือกปฏิบัติ ดังนั้น การปฏิบัติอัน
นําไปสูํความเทําเทียมหรือความเสมอภาคที่แท๎จริงนั้น จะต๎องเป็นการปฏิบัติตํอบุคคลในฐานะปัจเจกบุคคล
มิใชํปฏิบัติตํอบุคคลนั้นในฐานะสํวนหนึ่งของกลุํมที่เกี่ยวข๎องกับบุคคลนั้น กลําวคือ ต๎องแยกการพิจารณา
คุณสมบัติสํวนบุคคลออกจากคุณสมบัติในภาพรวมของกลุํมที่เกี่ยวข๎องกับบุคคลนั้น ตัวอยํางเชํน การปฏิบัติ
ตํอผู๎หญิงโดยมีภาพเหมารวมวําเป็นเพศที่อํอนแอ ดังนั้นจึงปฏิบัติตํอผู๎หญิงทุกคน บนพื้นฐานแนวคิด
ดังกลําว ซึ่งหากพิจารณาในระดับปัจเจกบุคคลแตํละคนแล๎ว ผู๎หญิงบางคนอาจมีความแข็งแรงกวําผู๎ชาย
178
บางคนก็ได๎ นอกจากเป็นสาเหตุของการเลือกปฏิบัติแล้ว ภาพเหมารวมยังอาจเป็นสาเหตุของความ
ขัดแย้งและความรุนแรงในสังคมได้ ดังจะเห็นได้จาก Amartya Sen ซึ่งไม่เห็นด้วยกับแนวคิดหรือความเชื่อ
ว่าบุคคลในโลกอาจจัดประเภท ตามสูตรอย่างง่ายๆ (Simple Formula) บางอย่าง เช่น เชื่อมโยงความ
รุนแรงว่าเกิดขึ้นจากคุณลักษณะของบุคคลบางกลุ่ม เช่น การเป็นชาวมุสลิมมิได้หมายถึงว่าจะต้องมีลักษณะ
179
หรือคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับการเป็นนักรบหรือการต่อสู้
175
Malcolm Sargeant, Ibid.
176 Susan T. Fiske, “Stereotyping, Prejudice, and Discrimination,” in The Handbook of Social
th
Psychology, Volume Two (4 ed.), eds. Daniel T. Gilbert, Susan T Fiske, Gardner Lindzey (Boston, Mass.:
McGraw-Hill, 1998), p. 35.
177
Florence L. Denmark, “Prejudice and Discrimination,” in The Corsini Encyclopedia of Psychology,
th
Volume Three (4 ed.), eds. Irving B. Weiner and Edward W. Craighead (Hoboken, N.J.: John Wiley,
2010), p. 1277.
178 Malcolm Sargeant, Ibid.
179 Amartya Sen, Identity and Violence : The Illusion of Destiny (U.S.: W. W. Norton & Company,
2006).