Page 324 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 324
300
ใช๎คําวําการไมํเลือกปฏิบัติ (Non-Discrimination) ในการอธิบายวํา บุคคลทุกคนที่ประกอบด๎วยคุณสมบัติ
อันเกี่ยวข๎อง (Relevant Attributes) กับการดําเนินการตามหน๎าที่หรือตําแหนํงควรได๎รับโอกาสในการจัด
อยูํในกลุํมผู๎สมัครที่มีสิทธิเทําเทียมกัน และความเป็นไปได๎ของการได๎งานหรือตําแหนํงของบุคคลนั้นควรถูก
พิจารณาจากคุณสมบัติที่เกี่ยวข๎องเทํานั้น อยํางไรก็ตาม นักวิชาการบางทํานเห็นวํา หลักความเสมอภาคใน
โอกาส ควรมีขอบเขตจํากัดเฉพาะการห๎ามเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุเฉพาะ เชํน การเลือกปฏิบัติด๎านเชื้อชาติ สี
171
ผิว เป็นต๎น
ความเสมอภาคหรือความเทําเทียมกันในโอกาส (Equality of Opportunity) จึงเป็นแนวคิดที่มี
วัตถุประสงค์ในการขจัดเสียซึ่งอุปสรรคที่จะทําให๎บุคคลบางกลุํมเสียเปรียบ นอกจากนี้ยังหมายความวําควร
มีวิธีการในเชิงบวกเพื่อทําให๎มั่นใจวําความเสียเปรียบนั้นจะได๎รับการเยียวยา กลําวคือ บุคคลทุกคนเริ่มต๎น
จากจุดเดียวกัน ดังนั้น บุคคลที่เสียเปรียบ เชํน ผู๎พิการจะได๎รับการเยียวยาความเสียเปรียบเพื่อให๎เข๎าสูํ
172
จุดเริ่มต๎นเชํนเดียวกับผู๎อื่นที่ไมํมีความพิการ ดังนั้นจะเห็นได๎วํา หลักการสําคัญของแนวคิดนี้มุํงเน๎นที่
“จุดเริ่มต๎น” ของการเข๎าสูํโอกาสตํางๆ ในสังคม (Starting Point) หรืออาจเปรียบเทียบกับจุดเริ่มต๎นในการ
แขํงขัน (Competition) เชํน การสมัครเข๎าทํางาน ซึ่งอาจเกิดความไมํเสมอภาคหรือไมํเทําเทียมกัน
เนื่องจากความแตกตํางในคุณลักษณะของบุคคล โดยเฉพาะอยํางยิ่งความแตกตํางอันเกิดจากคุณสมบัติที่
ไมํได๎เกี่ยวข๎องโดยตรงกับการเข๎าสูํโอกาสนั้น แนวคิดนี้จึงเสนอแนะให๎รัฐเข๎ามาแทรกแซงโดยการดําเนิน
มาตรการเพื่อสํงเสริมบุคคลที่เสียเปรียบให๎มีความเสมอภาคในการเข๎าสูํโอกาสเชํนเดียวกับบุคคลอื่น บุคคล
ที่เสียเปรียบนี้อาจเป็นกลุํมคนที่เคยถูกปฏิบัติอยํางแตกตํางบนพื้นฐานของอคติ (Prejudice) จากอดีตที่ผําน
มา เชํน อคติด๎านเชื้อชาติ สีผิว เป็นต๎น หรืออาจกลําวได๎อีกนัยหนึ่งวํา “คุณสมบัติที่ไมํเกี่ยวข๎อง” อันเป็น
“เหตุแหํงความเสียเปรียบ” ดังกลําว ก็คือ “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ” ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนนั่นเอง
ความเสมอภาคหรือความเทําเทียมกันในผล (Equality of Outcome) หมายถึงการขจัดความไมํ
เทําเทียมกันทั้งในจุดเริ่มต๎น (Starting Point) และจุดเปูาหมายหรือผลสุดท๎าย (Finishing Point) กลําวคือ
มุํงถึงการเข๎าแทรกแซง (Intervention) ในกระบวนการซึ่งบุคคลดําเนินการไปเพื่อบรรลุถึงผลที่ต๎องการ
ภายใต๎แนวคิดนี้ จะพบวํามาตรการ นโยบาย กฎเกณฑ์ ที่มีลักษณะแทรกแซงดังกลําว เกิดขึ้นเพื่อให๎บุคคล
173
ผู๎ด๎อยโอกาสหรือเสียเปรียบไปถึงผลสุดท๎ายได๎เทําเทียมกันกับบุคคลอื่นๆ เชํน มาตรการกําหนดโควตา
สําหรับผู๎หญิงในตําแหนํงบริหารขององค์กรหรือหนํวยงานบางแหํง เพื่อให๎มั่นใจวําผลสุดท๎ายแล๎วผู๎หญิง
จํานวนหนึ่งจะต๎องสามารถเข๎าสูํตําแหนํงนั้น มาตรการกําหนดโควตาสําหรับนักเรียนเชื้อชาติตํางๆ สําหรับ
การเข๎าศึกษาในสถาบันการศึกษาบางแหํง เพื่อรับรองวําผลสุดท๎ายแล๎วนักเรียนบางเชื้อชาติที่เสียเปรียบจะ
มีโอกาสได๎ศึกษา อยํางไรก็ตาม ความเทําเทียมกันตามแนวทางนี้มีปัญหาอันนําไปสูํข๎อโต๎แย๎งวํา เป็นการ
สร๎างความเทําเทียมกันด๎วยการแทรกแซงอันมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติตํอบุคคลอีกกลุํมหนึ่งอยูํในตัว
โดยเฉพาะบุคคลที่ไมํจัดอยูํในกลุํมซึ่งได๎รับการคุ๎มครอง (Protected Group) เชํน การกําหนดโควตา
171 Matt Cavanagh, Against Equality of Opportunity (Oxford: Clarendon Press, 2002).
172 Malcolm Sargeant, Discrimination and the Law (UK: Routledge, 2013), pp 3-5.
173
Malcolm Sargeant, Discrimination and the Law (UK: Routledge, 2013), pp 3-5.