Page 325 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 325

301


                   ตําแหนํงบริหารให๎กับผู๎หญิง สํงผลให๎ผู๎ชายที่มีความสามารถเชํนเดียวกันถูกกีดกันและเป็นการเลือกปฏิบัติ
                                 174
                   ตํอผู๎ชายเหลํานั้น

                           จากการเปรียบเทียบแนวคิดทั้งสอง ผู๎วิจัยมีข๎อวิเคราะห์วํา ความเทําเทียมกันในโอกาส (Equality
                   of Opportunity) จะเกี่ยวข๎องกับมาตรการ นโยบาย เพื่อสํงเสริมที่จุดเริ่มต๎น (Starting Point) ในการเข๎า

                   สูํโอกาสตํางๆ ในสังคมของกลุํมผู๎เสียเปรียบหรือกลุํมผู๎ที่มักถูกกีดกันให๎เป็นกลุํมคนชายขอบ
                   (Marginalised  Group)  เชํน มาตรการสํงเสริมความสามารถของคนพิการเพื่อให๎มีโอกาสได๎ทํางาน
                   มาตรการสํงเสริมความสามารถของเด็กและเยาวชน แตํมาตรการเหลํานี้มิได๎มุํงเน๎นที่ผลสุดท๎ายหรือผลลัพธ์
                   กลําวคือ ผลสุดท๎ายแล๎วบุคคลที่อยูํในกลุํมเสียเปรียบดังกลําวอาจไมํสามารถเข๎าถึงโอกาสนั้นๆ ในความเป็น

                   จริงได๎ เชํน คนพิการที่ได๎รับการสํงเสริมยังคงไมํได๎รับการวําจ๎างเข๎าทํางาน นักเรียนบางเชื้อชาติยังคงไมํมี
                   โอกาสเข๎าเรียน ดังนั้น แนวคิดความเทําเทียมกันในผล (Equality of Outcome) จึงมุํงเน๎นที่ผลลัพธ์โดยทํา
                   ให๎มั่นใจวําบุคคลในกลุํมเสียเปรียบดังกลําวจะได๎มาซึ่งผลที่มุํงสํงเสริมนั้นในความเป็นจริง โดยมีการ
                   แทรกแซงลักษณะตํางๆ เพื่อให๎เกิดผลดังกลําว เชํน กําหนดโควตาในโอกาสการทํางาน การศึกษา หรือการ

                   รับบริการตํางๆ เพื่อบุคคลกลุํมนั้น

                           อยํางไรก็ตามจะเห็นได๎วํา มาตรการที่กําหนดขึ้นเพื่อสํงเสริมให๎เกิดความเทําเทียมกันทั้งความเทํา

                   เทียมกันในโอกาสและความเทําเทียมกันในผล ตํางเป็นการเลือกปฏิบัติตํอบุคคลนอกกลุํมที่มาตรการหรือ
                   นโยบายนั้นมุํงคุ๎มครอง แตํระดับการเลือกปฏิบัตินั้นมีความเข๎มข๎นหรือรุนแรงแตกตํางกัน กลําวคือ การ
                   สํงเสริมที่จุดเริ่มต๎นเพื่อให๎บุคคลผู๎เสียเปรียบได๎รับโอกาสอันเทําเทียมกับผู๎อื่นนั้น อาจพิจารณาได๎วําเป็นการ
                   ให๎สิทธิพิเศษ (Privilege) แกํบุคคลกลุํมผู๎เสียเปรียบโดยไมํให๎สิทธิดังกลําวแกํบุคคลนอกกลุํม แตํกระนั้น ใน

                   ผลสุดท๎ายแล๎วก็มิได๎เป็นการกีดกันหรือปิดโอกาสสําหรับบุคคลนอกกลุํม ในขณะที่การสํงเสริมความเทํา
                   เทียมกันที่จุดเปูาหมายหรือผลสุดท๎าย เชํน การกําหนดโควตาเฉพาะบุคคลบางกลุํม เป็นการกีดกันหรือปิด
                   โอกาสสําหรับคนนอกกลุํม จึงทําให๎แนวทางนี้ถูกโต๎แย๎งวําเป็นการเลือกปฏิบัติตํอบุคคลนอกกลุํมในระดับที่

                   รุนแรงกวํา อยํางไรก็ตามอาจพิจารณาได๎วํา แนวคิดเกี่ยวกับความเทําเทียมกันทั้งสองนี้ สอดคล๎องกับความ
                   เทําเทียมกันเชิงสาระ (Substantive Equality) ซึ่งมุํงให๎เกิดความเทําเทียมกันที่เป็นจริง โดยมิได๎พิจารณา
                   เฉพาะรูปแบบการปฏิบัติที่เหมือนกันตํอบุคคลที่เหมือนกันตามหลักความเทําเทียมกันตามรูปแบบเทํานั้น
                   นอกจากนี้ มาตรการสํงเสริมเพื่อให๎เกิดความเทําเทียมกันทั้งในจุดเริ่มต๎นและจุดเปูาหมายหรือผลสุดท๎าย
                   อาจเทียบเคียงได๎กับมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก (Affirmative  Action)  ที่ได๎รับการยอมรับตามกฎหมาย

                   ระหวํางประเทศและกฎหมายประเทศตํางๆ ประเด็นที่ยากและยังเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ได๎ก็คือ การสร๎าง
                   ความสมดุลระหวํางการกําหนดมาตรการเพื่อสํงเสริมหรือคุ๎มครองบุคคลในกลุํมเสียเปรียบโดยไมํเป็นการกีด
                   กันหรือเลือกปฏิบัติตํอบุคคลนอกกลุํมจนเกินสมควรนั่นเอง





                           4.5.1.7 การสร้างภาพเหมารวม (Stereotyping)


                   174
                      Ibid.
   320   321   322   323   324   325   326   327   328   329   330