Page 323 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 323

299


                   เป็นเพศอํอนแอ (Weakness)  กลําวคือ กฎเกณฑ์หรือการปฏิบัติลักษณะนี้มิได๎มองวําสาเหตุที่แท๎จริงของ
                   ปัญหาอันนํามาสูํการปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้นเกิดจาก “สภาพแวดล๎อมที่ไมํปลอดภัย”  แตํกลับมองวํา

                   “ผู๎หญิงมีสภาพรํางกายที่อํอนแอและเปราะบาง” การปฏิบัติเชํนนี้ยิ่งเป็นการตอกย้ําวําลูกจ๎างหญิงมีสถานะ
                   ที่ด๎อยกวํา (Subordinate) เมื่อเปรียบเทียบกับลูกจ๎างชาย ด๎วยเหตุนี้ จึงเกิดข๎อโตแย๎งวํา ในท๎ายที่สุดแล๎ว
                   ความเทําเทียมกันที่แท๎จริงจึงยังไมํอาจบรรลุได๎



                           4.5.1.6 ความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกันในโอกาส (Equality of  Opportunity)  และ
                   ความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกันในผล (Equality of Outcome)


                           พัฒนาการของแนวคิดเกี่ยวกับความเสมอภาคในโอกาส (Equality  of  Opportunity)  หรืออาจ
                   เรียกวํา ความเสมอภาคในการเข๎าถึง (Equality  of  Access)  มีความเกี่ยวเนื่องกับการเข๎าสูํโอกาสในการ

                   จ๎างแรงงาน (Employment  Opportunity) โดยเน๎นย้ําถึงความสําคัญของการพิจารณาคุณสมบัติและ
                   ความสามารถของบุคคลมากกวําการนํา “ปัจจัยที่ไมํเกี่ยวข๎อง” เชํน เชื้อชาติ สีผิว ความเป็นชนกลุํมน๎อย
                   ฯลฯ มาประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับการเข๎าถึงโอกาสในการทํางานของบุคคลนั้น ในบริบทของการเข๎าถึง
                   โอกาสในการจ๎างงานนั้น การดําเนินการที่สอดคล๎องกับแนวคิดนี้ เชํน การประกาศการรับสมัครงานอยําง

                   เปิดเผยโดยให๎โอกาสผู๎สมัครทุกคนอยํางเทําเทียมกัน (Open call) การพิจารณาตัดสินคัดเลือกผู๎สมัครงาน
                   จากเกณฑ์หรือปัจจัยที่เกี่ยวข๎องกับตําแหนํงงานนั้นโดยไมํนําปัจจัยอื่นที่ไมํเกี่ยวข๎อง เชํน เชื้อชาติ สีผิว มา
                                        167
                   ประกอบ (Fair Judging)  อยํางไรก็ตาม แนวคิดนี้ขยายขอบเขตไปยังความเสมอภาคในการเข๎าถึงโอกาส
                   ในมิติอื่นๆ ของสังคมด๎วย เชํน การศึกษา การเป็นสมาชิกสมาคม การเข๎าถึงบริการสาธารณะ เป็นต๎น

                   แนวคิดนี้มุํงเน๎นถึงความเป็นธรรมในกระบวนการ (Fair Process) เพื่อการเข๎าถึงโอกาสตํางๆ ที่จะไมํนําเอา
                                                                           168
                   ปัจจัยซึ่งไมํเกี่ยวข๎องมาทําให๎บุคคลเสียโอกาสในการเข๎าถึงโอกาสนั้น

                           ความเสมอภาคในโอกาส อาจพิจารณาได๎จากมุมมองเชิงเศรษฐศาสตร์ จะเห็นได๎จาก Milton และ
                                   169
                   Rose  Friedman   อธิบายไว๎วํา ความเสมอภาคในโอกาสมิได๎มีความหมายตามลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้
                   เนื่องจากบุคคลบางคนอาจเกิดมาด๎วยสภาพรํางกายที่แตกตํางกัน แตํความหมายที่แท๎จริงของความเสมอ

                   ภาคในโอกาสคือ อาชีพซึ่งเปิดโอกาสให๎กับบุคคลที่มีคุณสมบัติหรือความสามารถที่เกี่ยวข๎องกับงานนั้น โดย
                   ไมํมีอุปสรรคที่เกิดจากการกระทําตามอําเภอใจ (Arbitrary  Obstacles)  ซึ่งกีดกันหรือขัดขวาง
                   ความสามารถของบุคคลนั้น อุปสรรคดังกลําวเกิดจากการนําคุณสมบัติที่ไมํเกี่ยวข๎อง (Irrelevant
                                                                                                         170
                   Characteristics) เชํน เชื้อชาติ สีผิว เพศ ศาสนา มากีดกันโอกาสของบุคคล นอกจากนี้ John Roemer


                   167
                      Encyclopedia of Political Theory, Sage Publications, ed. Mark Bevir, (2010), pp. 452–453.
                   168
                      Nicole Richardt and Torrey Shanks, Equal Opportunity, International Encyclopedia of the Social
                   Sciences (2008).
                   169  Milton Friedman and Rose D. Friedman, Free to choose: a personal statement (Mariner Books,
                   1990).
                   170
                      John Roemer, Equality of Opportunity (Harvard University Press, 1998).
   318   319   320   321   322   323   324   325   326   327   328