Page 318 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 318

294


                   สากล สอดคล๎องกับ หลักการห๎ามเลือกปฏิบัติโดยตรง ซึ่งมุํงเน๎นการพิจารณาการเลือกปฏิบัติจากกรณีการ
                   ปฏิบัติแตกตํางกันตํอสิ่งที่มีสาระสําคัญเหมือนกัน



                           4.5.1.2 ความเสมอภาคเชิงระบบหรือโครงสร้าง (Systemic Equality)


                           ดังที่กลําวมาแล๎ววํา ความเสมอภาคอยํางเป็นสากลนั้นอยูํบนพื้นฐานของการปฏิบัติตํอบุคคล
                   เหมือนกันโดยไมํคํานึงถึงความแตกตําง ซึ่งอาจสํงผลกระทบให๎บุคคลบางกลุํมเสียเปรียบหรือเสียโอกาส

                   ดังนั้น การปฏิบัติเหมือนกันซึ่งนําไปสูํความเทําเทียมกันอยํางเป็นสากลจึงสํงผลกระทบให๎เกิด “ความไมํ
                   เสมอภาคเชิงโครงสร๎างหรือเชิงระบบ” (Structural or Systemic Inequality) ซึ่งหมายถึงสภาพซึ่งบุคคล
                   กลุํมหนึ่งต๎องตกอยูํในสถานะที่ไมํเทําเทียมกันกับบุคคลกลุํมอื่น ความไมํเทําเทียมกันระหวํางบุคคลสองกลุํม
                                                                                                         158
                   นี้อาจพิจารณาได๎จากความสัมพันธ์ที่ไมํเทําเทียมกันในบทบาท หน๎าที่ การตัดสินใจ สิทธิ และโอกาส
                   ดังนั้นจะเห็นได๎วํา ความไมํเสมอภาคเชิงโครงสร๎าง มีรากฐานมาจากแนวปฏิบัติปกติหรือประจําของสถาบัน
                   ทางสังคมตํางๆ โดยอาจจําแนกได๎หลายประเภท เชํน การจําแนกบุคคลตามถิ่นที่อยูํ การเลือกปฏิบัติด๎าน
                                               159
                   การจ๎างงานและการศึกษา เป็นต๎น  ทั้งนี้เนื่องจาก ตามลักษณะทั่วไปทางสังคมนั้น จะมีการจําแนกบุคคล
                                                                                                160
                   ตามบทบาท ในการจําแนกดังกลําวสํงผลให๎มีบางบทบาทเป็นที่ต๎องการมากกวําบทบาทอื่น  สภาพและ
                   ลักษณะทางสังคมดังกลําวสํงผลให๎เกิดความไมํเทําเทียมกันได๎


                            จากข๎อจํากัดของแนวคิดความเสมอภาคอยํางเป็นสากลดังกลําว นําไปสูํแนวคิดความไมํเทําเทียม
                   กันเชิงระบบหรือเชิงโครงสร๎าง ซึ่งเน๎นวําความไมํเทําเทียมกันเกิดจากการปฏิบัติซ้ําๆ กันตํอกลุํมทางสังคม
                   บางกลุํมที่แตกตํางกัน แม๎วําจะเกิดขึ้นโดยปราศจากรูปแบบของการเลือกปฏิบัติที่ชัดเจนหรือโดยเจตนาก็
                   ตาม แตํในท๎ายที่สุดได๎สํงผลทําให๎เกิดรูปแบบความไมํเสมอภาคสําหรับกลุํมบุคคลนั้นๆ (Group-Patterned
                   Inequalities) หรืออาจเรียกวําเกิดสภาวะที่บุคคลกลุํมครอบงํา (Dominant Group) กีดกันบุคคลอีกกลุํม

                   หนึ่งให๎เป็นกลุํมชายขอบ (Marginalized  Group)  ซึ่งความไมํเทําเทียมที่บุคคลกลุํมนี้ได๎รับนั้น ครอบคลุม
                   มิติตํางๆ ทางสังคม เชํน การศึกษา สถานะทางสังคม สุขภาพ คุณภาพชีวิต ความเป็นมารดา หรือการมีสํวน
                   ในทางการเมือง ยิ่งไปกวํานั้นความไมํเทําเทียมกันเชิงระบบนี้ เมื่อเกิดขึ้นในมิติใดของสังคมแล๎วจะสามารถ

                   สํงผลให๎เกิดความไมํเทําเทียมกันในมิติอื่นของสังคมได๎อีกรวมทั้งสํงผลตํอเนื่องจากคนรุํนหนึ่งไปสูํอีกรุํนหนึ่ง
                       161
                   ด๎วย  นอกจากนี้ ในทางสังคมวิทยายังได๎มีความพยายามในการจําแนกความไมํเทําเทียมกัน (Inequality)
                   ออกเป็นสองประเภทคือ อคติสํวนบุคคล (Individual  Bias)  ซึ่งหมายถึงความคิดความเชื่อในทางลบของ



                   158  Anis A. Dani and Arjan de Haan, eds., Inclusive States: Social Policy and Structural Inequalities
                   (Washington, D.C: World Bank, 2008), p. 3.
                   159
                      Edward Cary Royce, Poverty and Power: the Problem of Structural Inequality (Lanham: Rowman
                   & Littlefield, 2009), p. 217.
                   160  Richard J. Arneson, “Equality of Opportunity,” Stanford Encyclopedia of Philosophy, Fall 2008
                   161  Melissa S. Williams, Voice, Trust, and Memory : Marginalized groups and the Failings of liberal
                   representation (Princeton University Press, 1998), pp. 175-178.
   313   314   315   316   317   318   319   320   321   322   323