Page 317 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 317

293


                   การตระหนักถึงคุณสมบัติรํวมกันของความเป็นมนุษย์ (Common  Humanity)  โดยปฏิบัติตํอบุคคลอยําง
                                                                                               154
                   เทําเทียมกัน ซึ่งสอดคล๎องกับแนวคิดที่วํามนุษย์ทุกคนมีคุณคําอยูํในตัวเอง (Intrinsic Value)  ดังนั้น หาก
                   บุคคลคนหนึ่งไมํได๎รับการปฏิบัติที่เหมือนหรือเทําเทียมกันกับบุคคลอื่น การปฏิบัติดังกลําวนั้นก็ไมํ
                   สอดคล๎องกับการเคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ดังนั้น การเคารพศักดิ์ศรีของมนุษย์จึงหมายถึงการ
                   เคารพหรือยอมรับความแตกตํางของบุคคลซึ่งเกิดจากเหตุตํางๆ เชํน เพศ เชื้อชาติ สีผิว ฯลฯ ทั้งนี้เนื่องจาก
                   ไมํวําบุคคลคนหนึ่งจะมีเชื้อชาติ สีผิว เพศ ใดก็ตาม แตํก็มีความเป็นมนุษย์เชํนเดียวกัน  ด๎วยเหตุนี้ความ

                   เสมอภาคหรือความเทําเทียมกันจึงจัดเป็นสิทธิมนุษยชนที่สําคัญประการหนึ่ง อยํางไรก็ตาม ในเชิงแนวคิด
                   ทฤษฎีนั้น หลักความเสมอภาคหรือความเทําเทียมกันนี้อาจพิจารณาได๎หลายมุมมองโดยอาจจําแนกได๎
                   ดังตํอไปนี้



                           4.5.1.1 ความเสมอภาคอย่างเป็นสากล (Universal Equality)


                           หลักการพื้นฐานของความเสมอภาคคือการที่บุคคลแตํละบุคคลได๎รับการปฏิบัติที่เหมือนกัน โดยไมํ
                   คํานึงถึงปัจจัยหรือเหตุแหํงความแตกตํางของบุคคลเหลํานั้น โดยนัยนี้จึงอาจเรียกวําความเสมอภาคอยําง
                   เป็นสากล หรือ คุณคําพื้นฐานรํวมกันของความเป็นมนุษย์ที่ไมํอาจวัดได๎ (Common and Immeasurable

                   Human  Worth)  ดังนั้น จากแนวความคิดนี้สํงผลให๎เกิดหลักการ “ปฏิบัติตํอบุคคลโดยไมํคํานึงถึงความ
                                                                          155
                   แตกตําง” (Treating People in a Difference-Blind Fashion)  อันเป็นพื้นฐานที่นําไปสูํหลักการห๎าม
                   เลือกปฏิบัติเพื่อให๎บรรลุวัตถุประสงค์ความเสมอภาคอยํางเป็นสากลดังกลําวนั้น ด๎วยการห๎ามปฏิบัติตํอ
                                                                                    156
                   บุคคลแตกตํางกันด๎วยเหตุที่บุคคลเหลํานั้นมีสีผิว เชื้อชาติ ศาสนา ที่แตกตํางกัน

                           อยํางไรก็ตาม ความเสมอภาคอยํางเป็นสากลซึ่งตั้งอยูํบนพื้นฐานของหลักการ “ปฏิบัติตํอบุคคล
                   โดยไมํคํานึงถึงความแตกตําง”  นี้ยังอาจไมํเพียงพอที่จะสํงเสริมให๎เกิดความเทําเทียมกันได๎ นักวิชาการ

                   หลายทํานชี้ให๎เห็นวํา หลักความเสมอภาคดังกลําวไมํครอบคลุมถึงความไมํเสมอภาคเชิงระบบ (Systemic
                   Inequality)  ซึ่งเกิดขึ้นกับกลุํมบุคคลบางกลุํมที่ด๎อยโอกาสกวํากลุํมอื่น หากใช๎หลักการปฏิบัติอยํางเทํา
                   เทียมกันโดยไมํคํานึงถึงความแตกตํางของบุคคลแตํละกลุํมแล๎วจะสํงผลให๎เกิดการเลือกปฏิบัติขึ้นได๎
                             157
                   เชํนเดียวกัน  หากพิจารณาในกรอบของการเลือกปฏิบัติแล๎วจะเห็นได๎วํา หลักความเทําเทียมกันอยํางเป็น



                   154  Ronald Dworkin,  Life's Dominion:  An  Argument About Abortion, Euthanasia, and  Individual
                   Freedom (New York: Knopf, 1993).
                   155  Vinicio Busacchi, The Recognition Principle : A Philosophical Perspective between Psychology ,
                   Sociology and Politics (Cambridge Scholars Publishing, 2015), pp. 57-58.
                   156
                      Timo Makkonen, “Is Multicultralism Bad for the Fight against Multiculturalisim?,” in Rethinking Non-
                   Discrimination and Minority Rights, eds. Martin Scheinin & Reetta Toivanen (2004), pp. 155-158.
                   157  Melissa S. Williams, “Memory, History and Membership: The Moral Claims of Marginalized Groups in
                   Political Representation,” in Do We Need Mionrity Rights? Conceptual Issues, ed. J Räikkä (The
                   Hague, Martinus Nijhoff, 1996).
   312   313   314   315   316   317   318   319   320   321   322