Page 314 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 314

290


                   มนุษยชนแห่งชาติด าเนินการตรวจสอบใหม่ได้..”  (รายงานผลพิจารณาที่ 952/2558)  โดยคณะกรรมการ
                   สิทธิมนุษยชนแหํงชาติมีอํานาจตรวจสอบวํากระบวนการที่กลําวอ๎างในคําร๎องนั้นมีการละเมิดสิทธิใน

                   กระบวนการยุติธรรมหรือไมํ มีการดําเนินการตามขั้นตอนตามที่กฎหมายกําหนดแล๎วหรือไมํ (รายงานผล
                   พิจารณาที่ 375/2557)


                           จากการจําแนกทั้ง 4 กรณีข๎างต๎น อาจสรุปได๎วํา กรณีที่มีการกลําวอ๎างวําเกิด “การเลือกปฏิบัติ”
                   แตํเมื่อพิจารณาในกรอบกฎหมายสิทธิมนุษยชนแล๎วเป็นกรณีการปฏิบัติในลักษณะเป็นกลาง (Neutral) ที่มี
                   ผลกับทุกคน หรือเป็นกรณีการปฏิบัติแตกตํางกันซึ่งไมํเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมาย
                   สิทธิมนุษยชน แตํก็ยังอาจอยูํในขอบเขตอํานาจการตรวจสอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติได๎

                   เพราะอาจเป็นการกระทบ “สิทธิมนุษยชน”  ในแงํอื่นๆ ของผู๎ร๎อง “ที่ได๎รับการรับรองหรือคุ๎มครองตาม
                   รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย หรือ ตามกฎหมายไทย หรือ ตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่
                   จะต๎องปฏิบัติตาม”  เชํน การปฏิบัติที่แตกตํางกันอันกระทบตํอเสรีภาพในการแสดงออกทางศาสนา สิทธิ
                   เสรีภาพทางการศึกษา ศักดิ์ศรีของมนุษย์ สิทธิในความเป็นอยูํสํวนตัว เสรีภาพในการสื่อสาร สิทธิของบุคคล

                   ในกระบวนการยุติธรรม เป็นต๎น

                           สรุปการวิเคราะห์


                           จากการวิเคราะห์ขอบเขตของการเลือกปฏิบัติในหัวข๎อนี้ อาจสรุปได๎วํา จากการศึกษาคดีปกครอง

                   ที่ศาลตัดสินประเด็นการเลือกปฏิบัตินั้น ในหลายคดีศาล พิจารณาคําสั่งทางปกครองที่พิพาทซึ่งถูกกลําวอ๎าง
                   วําเป็นการเลือกปฏิบัติประกอบประเด็นอื่นๆโดยเฉพาะการใช๎ดุลพินิจโดยมิชอบซึ่งอาจครอบคลุมเหตุตํางๆ
                   นอกเหนือจากเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติโดยทั่วไป  นอกจากนี้ในหลายคดีจะเห็นได๎วํา ศาลตัดสินวํามีการ
                   เลือกปฏิบัติแม๎การปฏิบัติที่แตกตํางกันดังกลําวเกิดจากเหตุซึ่งมิได๎จัดอยูํในเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติดังเชํน
                   เพศ เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ ทั้งนี้เนื่องจากเหตุผลสําคัญคือ คดีดังกลําวเป็นคดีปกครองซึ่งศาลปกครองมี

                   อํานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคําสั่งตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
                   พ.ศ. 2542 มาตรา 9 ซึ่งกําหนดอํานาจของศาลปกครองในการพิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนํวยงาน
                   ทางปกครองหรือเจ๎าหน๎าที่ของรัฐกระทําการอัน “มีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม..หรือเป็นการ
                                      153
                   ใช๎ดุลพินิจโดยมิชอบ”  โดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ ก็มิได๎กําหนดนิยามความหมายหรือ
                   ขอบเขตของ “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม” ไว๎แตํอยํางใด ทําให๎ศาลสามารถพิจารณาโดยนําปัจจัยตํางๆ
                   มาประกอบได๎อยํางกว๎างขวาง นอกจากนี้ศาลปกครองยังได๎วินิจฉัยโดยอาศัยหลักกฎหมายปกครอง
                   โดยเฉพาะอยํางยิ่งในกรณีที่เกี่ยวกับการบริการสาธารณะที่มีหลักวํา หนํวยงานทางปกครองที่มีอํานาจ

                   หน๎าที่จัดทํากิจการบริการสาธารณะต๎องจัดทําบริการสาธารณะให๎มีความตํอเนื่องไมํหยุดชะงัก  ...และไมํ


                   153
                      พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 มาตรา 9 กําหนดวํา “ศาลปกครองมีอํานาจ
                   พิจารณาพิพากษาหรือมีคําสั่งในเรื่องดังตํอไปนี้ (1) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนํวยงานทางปกครองหรือเจ๎าหน๎าที่ของรัฐ
                   กระทําการโดยไมํชอบด๎วยกฎหมายไมํวําจะเป็นการออกกฎ คําสั่ง หรือ การกระทําอื่นใดเนื่องจากการกระทําโดยไมํมี
                   อํานาจหรือนอกเหนืออํานาจหน๎าที่หรือไมํถูกต๎องตามกฎหมาย หรือไมํถูกต๎องตามรูปแบบขั้นตอน...หรือมีลักษณะเป็นการ
                   เลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม..หรือเป็นการใช๎ดุลพินิจโดยมิชอบ”
   309   310   311   312   313   314   315   316   317   318   319