Page 312 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 312

288


                   (คําร๎องที่ 344/2553, รายงานผลการพิจารณาที่ 457/2556) นอกจากนี้ ในกรณีระเบียบการแตํงกายเพื่อ
                   เข๎ารับพระราชทานปริญญาบัตร ซึ่งผู๎ร๎องอ๎างวํากระทบเสรีภาพและเลือกปฏิบัตินั้น (คําร๎องที่ 567/2553,

                   รายงานผลพิจารณาที่ 298/2554) กฎระเบียบเชํนนี้หากหากใช๎บังคับกับทุกคน โดยหลักแล๎วก็ไมํเป็นการ
                   เลือกปฏิบัติโดยตรง แตํอาจเป็นการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อมและเป็นการกระทบเสรีภาพในการแสดงออกทาง
                   ศาสนา อยํางไรก็ตาม หากมีการกําหนดระเบียบวํา สามารถแตํงกายตามหลักศาสนาได๎โดยมีเงื่อนไขวําต๎อง
                   ยื่นคําร๎องขออนุญาตกํอน ดังนี้ก็ยังไมํเป็นการจํากัดเสรีภาพในการแสดงออกทางศาสนาเพราะยังเปิดชํองให๎

                   สามารถใช๎เสรีภาพการแสดงออกได๎

                           3.  กรณีที่อาจคาบเกี่ยวระหว่างการเลือกปฏิบัติและการละเมิดสิทธิเสรีภาพทางการศึกษา


                           คําร๎องตํอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติหลายกรณี มีประเด็นเกี่ยวข๎องกับการปฏิบัติตํอ

                   นักเรียน นักศึกษา ที่แตกตํางกัน อันเป็นการกระทบสิทธิเสรีภาพในการศึกษา ซึ่งการปฏิบัติที่แตกตําง
                   เหลํานั้น บางกรณีก็ไมํเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน เชํน กรณีผู๎ร๎องได๎
                   ร๎องเรียนวําบุตรชายของผู๎ร๎องถูกสั่งพักการเรียนด๎วยเหตุไมํเหมาะสมและไมํเป็นธรรมตํอบุตรผู๎ร๎อง กรณี

                   เหตุแหํงการพักการเรียนเกี่ยวข๎องกับ “พฤติกรรม” ของนักเรียน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนเห็นวํา เป็น
                   การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อเด็ก (รายงานผลการตรวจสอบที่ 865/2555)  กรณีที่ผู๎ร๎องอ๎างวํา
                   นักเรียนที่เรียกร้องสิทธิกลับเข๎าศึกษาตํอโรงเรียนเดิมจํานวน 36 คน ถูกเลือกปฏิบัติ เชํน หนังสือเรียนที่
                   ได๎รับและกระบวนการเรียนการสอนก็แตกตํางจากนักเรียนอื่นๆ (คําร๎องที่ 282/2555)  กรณีผู๎ร๎องอ๎างวํา
                   โรงเรียนไมํออกเอกสารแสดงการจบหลักสูตรสําหรับนักเรียนที่ยังค้างค่าบ ารุงการศึกษา (คําร๎องที่

                   229/2555) กรณีกลําวอ๎างวํามีการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การรับสมัครนักเรียนเข๎าศึกษาตํอ (คํา
                   ร๎อง 573/2555 และ 33/2556) กรณีเหลํานี้หากปรากฏข๎อเท็จจริงวําการปฏิบัติที่แตกตํางกันเกี่ยวข๎องกับ
                   เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ฯลฯ อาจจัดเป็นการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิ

                   มนุษยชนได๎ แตํหากไมํเกี่ยวข๎องก็จะต๎องพิจารณาวํากระทบสิทธิมนุษยชนในด๎านอื่น โดยเฉพาะสิทธิ
                   เสรีภาพในการศึกษาที่รัฐธรรมนูญคุ๎มครองไว๎หรือไมํ


                            สําหรับกรณีที่มีการร๎องเรียนวําบุคลากรทางการศึกษา เชํน ครู อาจารย์ มีพฤติกรรมกระทบตํอ
                   สิทธิในเนื้อตัวรํางกายของนักเรียน เชํน คําร๎องที่ 544/2554 กรณีเชํนนี้ ในมิติของสิทธิมนุษยชนนั้น อาจมี
                   ความเกี่ยวข๎องในหลายกรณี เชํน หากปรากฏวําพฤติกรรมดังกลําวเกี่ยวเนื่องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ
                   เชํน เพศ อาจเข๎าขํายการเลือกปฏิบัติ โดยเฉพาะกรณีการคุกคาม (Harassment) รวมทั้งอาจเกี่ยวข๎องกับ

                   “สิทธิเด็ก” ซึ่งเป็นสิทธิมนุษยชนอีกประการหนึ่ง นอกจากนี้ยังอาจเกี่ยวข๎องกับสิทธิมนุษยชนอื่นนอกจาก
                   ในมิติของการเลือกปฏิบัติ เชํน สิทธิสํวนบุคคล สิทธิในเนื้อตัวรํางกาย โดยอาจจัดอยูํในกรณีที่ 1 ดังกลําว
                   ข๎างต๎น





                           4.  กรณีที่อาจคาบเกี่ยวระหว่างการเลือกปฏิบัติและการละเมิดสิทธิของบุคคลในกระบวนการ
                   ยุติธรรม
   307   308   309   310   311   312   313   314   315   316   317