Page 310 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 310

286


                   ปฏิบัติ โดยเฉพาะการเลือกปฏิบัติโดยตรง นอกจากนี้ หากเป็นการปฏิบัติตํอพนักงานทุกคนในลักษณะ
                   เชํนเดียวกัน กลําวคือ รูปแบบและลักษณะการค๎นเป็นเชํนเดียวกันทั้งลูกจ๎างชายและหญิง โดยไมํคํานึงถึง

                   ความแตกตํางของพนักงานบางคนที่เป็นเพศหญิง ทําให๎ได๎รับความอับอาย ก็อาจเป็นการเลือกปฏิบัติ
                   ทางอ๎อมได๎


                           ประการที่สอง หากมีปฏิบัติเฉพาะตํอพนักงานหญิง กลําวคือ หากมีข๎อเท็จจริงวํามีพนักงานชายที่
                   ทํางานเชํนเดียวกันอยูํด๎วยแตํไมํถูกตรวจค๎นก็อาจเป็นการปฏิบัติที่แตกตํางได๎ นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาตาม
                   พระราชบัญญัติความเทําเทียมระหวํางเพศ พ.ศ. 2558 อาจเป็น “วิธีปฏิบัติ”  ขององค์กรเอกชน ที่มี
                   ลักษณะเลือกปฏิบัติ แตํทั้งนี้ก็ต๎องนําปัจจัยด๎านการรักษาความปลอดภัยในทรัพย์สินมาประกอบวํามีความ

                   “ชอบธรรม” หรือไมํ

                           ประการที่สาม การค๎นตัวพนักงานดังกลําว อาจเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนในมิติอื่นนอกจากการ

                   เลือกปฏิบัติได๎  โดยเฉพาะสิทธิสํวนบุคคลและสิทธิในเนื้อตัวรํางกาย ซึ่งก็ต๎องพิจารณาชั่งน้ําหนักเหตุผล
                   ความจําเป็นและสัดสํวนของการปฏิบัติดังกลําวประกอบด๎วย


                           กรณีภาคเอกชนทําการค๎นตัวผู๎เข๎าชมคอมเสิร์ตซึ่งมีการกําหนดให๎เจ๎าหน๎าที่ผู๎ชายตรวจค๎นกระเป๋า
                   สัมภาระ เจ๎าหน๎าที่ผู๎หญิงตรวจค๎นรํางกาย ซึ่งการตรวจค๎นดังกลําวมีการใช๎มือสัมผัสบริเวณหน๎าอก อวัยวะ
                   เพศ และต๎นขา โดยไมํมีการแจ๎งลํวงหน๎าวําจะตรวจอะไรบ๎าง ผู๎ร๎องเห็นวําเป็นลักษณะลํวงละเมิดทางเพศ

                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเห็นวํา การตรวจค๎นกระทําเพื่อเป็นการคุ๎มครองผู๎เข๎าชมคอนเสิร์ตให๎
                   ได๎รับความปลอดภัยและไมํให๎กระทําผิดกฎหมาย แต่วิธีการตรวจค้นโดยใช้มือสัมผัสร่างกาย อาจสุ่มเสี่ยง
                   ต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน  (รายงานผลการพิจารณาที่ 952/2558) กรณีนี้จะเห็นได๎วํา การปฏิบัติที่
                   พิพาทเกิดขึ้นในภาคเอกชน แตํเป็นการปฏิบัติตํอทุกคนเหมือนกันโดยไมํเลือกปฏิบัติตํอผู๎เข๎าชมบางคน
                   อยํางไรก็ตาม การปฏิบัติดังกลําวสํงผลกระทบตํอสิทธิสํวนบุคคลในเนื้อตัวรํางกาย ซึ่งเป็นสิทธิมนุษยชน

                   ประการหนึ่ง ทั้งนี้มีข๎อสังเกตวํา สิทธิสํวนบุคคลหรือสิทธิในความเป็นอยูํสํวนตัว (Right to Privacy) นั้นมี
                                                                                            151
                   ความหมายหลายนัย ทั้งในแงํสิทธิสํวนบุคคลในแงํเนื้อตัวรํางกาย สิทธิสํวนบุคคลในข๎อมูล  นอกจากนี้ยังมี
                   กรณีคําร๎องเกี่ยวกับการนําข๎อมูลสํวนบุคคลของผู๎ร๎องมาแถลงขําวตํอสื่อมวลชน (คําร๎อง 362/2556,

                   รายงานผลการพิจารณาที่ 506/2557)  กรณีเชํนนี้จะเห็นได๎วํา ไมํปรากฏข๎อเท็จจริงวํามีการปฏิบัติที่
                   แตกตํางกันด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน แตํเกี่ยวข๎องกับการกระทบสิทธิ
                   มนุษยชนประการอื่น โดยเฉพาะสิทธิในความเป็นอยูํสํวนตัว











                   151  คณาธิป ทองรวีวงศ์, เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายสิทธิส่วนบุคคลและข้อมูลส่วนบุคคล (กรุงเทพ:
                   มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น, 2557), หน๎า 17-26.
   305   306   307   308   309   310   311   312   313   314   315