Page 309 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 309

285


                           1. กรณีที่อาจคาบเกี่ยวระหว่างการเลือกปฏิบัติกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลหรือสิทธิในความ
                   เป็นอยู่ส่วนตัว


                            กรณีตามคําร๎องตํอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ ผู๎ร๎องอ๎างวํา วัด พ.ได๎จัดทําพิพิธภัณฑ์
                   โดยการนํารํางของผู๎เสียชีวิตด๎วยโรคเอดส์มาจัดแสดง พร๎อมทั้งเขียนชื่อ-นามสุกล ประวัติ อาชีพ ของผู๎ตาย

                   ทั้งเป็นรํางที่ไมํสวมใสํเสื้อผ๎า แม๎จะมีการลงชื่อยินของของผู๎ตายและผู๎ร๎องกังวลวําอาจจะยินยอมโดยไมํมี
                   ความอิสระ เนื่องจากอยูํในสถานที่ดูแลของวัดเลยจําต๎องยินยอม ทั้งนี้ผู๎ร๎องเห็นวําเป็นการละเมิดสิทธิ
                   มนุษยชนทั้งตํอผู๎เสียชีวิตเองและญาติของผู๎เสียชีวิตด๎วยจึงให๎ตรวจสอบ คณะกรรมการอนุกรรมการ
                   ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนด๎านเด็ก สตรี ผู๎สูงอายุ และความเสมอภาคของบุคคล ตรวจสอบแล๎ว

                   เห็นวํา การจัดแสดงดังกลําวเป็นการละเมิดสิทธิในเกียรติยศ และชื่อเสียงของผู๎เสียชีวิต และบุคคลใน
                   ครอบครัว ตามรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 35 ถือวําเป็นการกระทําอันมิบังควร
                   ตํอศพ ดูหมิ่นเหยียดหยามศพ (คําร๎องที่ 484/2552)


                           กรณีนี้จะเห็นได๎วํา กรณีนี้แม๎วําจะเป็นกรณีเกี่ยวข๎องกับ “ผู๎ปุวยโรคเอดส์”  ซึ่งสามารถจัดอยูํใน
                   เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ แตํก็ไมํปรากฏวํามีประเด็นการเปรียบเทียบระหวํางบุคคลเหมือนกันที่ได๎รับการ
                   ปฏิบัติแตกตํางกัน เนื่องจากกรณีนี้มิได๎มีลักษณะเป็นการปฏิบัติตํอผู๎ปุวยโรคเอดส์ในลักษณะที่แตกตํางจาก

                   บุคคลทั่วไป จึงไมํเกี่ยวข๎องกับการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงสุขภาพ จึงต๎องพิจารณาวําเป็นการละเมิดสิทธิ
                   มนุษยชนอื่นๆ เชํน สิทธิเสรีภาพสํวนบุคคล หรือไมํ สําหรับกรณีของการละเมิดข๎อมูลสํวนบุคคลนั้น หาก
                                                            149
                   พิจารณาตามรํางพระราชบัญญัติข๎อมูลสํวนบุคคล  จะเห็นได๎วํา มีการยกเว๎น “ข๎อมูลของผู๎ซึ่งถึงแกํกรรม
                   แล๎ว”  จากนิยามความหมายของข๎อมูลสํวนบุคคลด๎วย จึงต๎องพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข๎องอื่นๆ เชํน
                                                                                                150
                   กฎหมายอาญาฐานหมิ่นประมาทโดยเฉพาะการหมิ่นประมาทผู๎ตายวําเข๎าองค์ประกอบหรือไมํ

                           กรณีตามคําร๎องตํอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ (คําร๎องที่ 45/2555)  ผู๎ร๎องกลําวอ๎างวํา

                   บริษัท เอกชนแหํงหนึ่ง ได๎สั่งให๎พนักงานซึ่งมีเครื่องตรวจสแกน ทําการตรวจค๎นรํางกายพนักงานหญิง
                   เนื่องจากมีเหตุสงสัยวําทรัพย์สินของบริษัทฯสูญหาย โดยตรวจค๎นเป็นรายบุคคลในห๎องน้ํา พนักงานถูก
                   บังคับให๎ถอดเสื้อผ๎าออกทั้งหมด และทําการตรวจค๎นโดยละเอียด กรณีนี้ศาลมีคําพิพากษาให๎ผู๎ถูกร๎องชดใช๎

                   คําเสียหายและผู๎ร๎องได๎ขอยุติเรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติจึงเห็นควรยุติเรื่อง (รายงานผลการ
                   พิจารณาที่ 196/2556) กรณีนี้ผู๎วิจัยมีข๎อพิจารณาวํา


                           ประการแรก แม๎วําจะเป็นกรณีเกี่ยวข๎องกับ “พนักงานหญิง”  ซึ่งสามารถจัดอยูํในเหตุแหํงการ
                   เลือกปฏิบัติ แตํก็ไมํปรากฏวํามีลักษณะเป็นการปฏิบัติตํอพนักงานหญิงแตกตํางออกไปด๎วยเหตุแหํงเพศ
                   ดังนั้น กฎเกณฑ์หรือการปฏิบัติในลักษณะนี้ซึ่งเป็นการปฏิบัติตํอพนักงานทุกคนเหมือนกันจึงไมํใชํการเลือก



                   149  รํางที่ผํานการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา 2558
                   150  ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 327 ผู๎ใดใสํความผู๎ตายตํอบุคคลที่สามและการใสํความนั้น นําจะเป็นเหตุให๎ บิดา
                   มารดา คูํสมรส หรือบุตรของผู๎ตายเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผู๎นั้นกระทําความผิดฐานหมิ่นประมาท ต๎อง
                   ระวางโทษดังบัญญัติไว๎ใน มาตรา 326 นั้น
   304   305   306   307   308   309   310   311   312   313   314