Page 308 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 308

284


                           4.4.9 การปฏิบัติที่แตกต่างกันอันไม่อยู่ในขอบเขตของ  “การเลือกปฏิบัติ”  กับอ านาจของ
                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


                           สําหรับกรณีข๎อเท็จจริงที่มีการกลําวอ๎างถึงการ “เลือกปฏิบัติ” นั้น แม๎วําเมื่อนําหลักการพิจารณา
                   ตามแนวทางกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศมาวิเคราะห์แล๎วพบวําไมํเกี่ยวข๎องกับการเลือกปฏิบัติ

                   เชํน ไมํเกี่ยวกับ “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ”  หรือ ไมํได๎มีลักษณะของการปฏิบัติอันแตกตํางกันระหวําง
                   บุคคลในสาระสําคัญที่เหมือนกัน กรณีเหลํานี้ จึงไมํอาจถือได๎วําจัดเป็นกรณี “การเลือกปฏิบัติ”
                   (Discrimination)   ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน โดยบางกรณีเป็นเพียงการ “ปฏิบัติที่แตกตํางกัน”
                   (Differentiation หรือ Distinction) หรือบางกรณีมีลักษณะเป็นการปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม อันอาจเกี่ยวข๎อง

                   กับบริบทกฎหมายอื่น เชํน กฎหมายปกครอง เป็นต๎น

                            อยํางไรก็ตาม สําหรับกรณีการปฏิบัติแตกตํางกันที่ไมํเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตาม

                   กฎหมายสิทธิมนุษยชนนั้น มีประเด็นพิจารณาตํอไปวํา กรณีเหลํานั้นอยูํในขอบเขตอํานาจของ
                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติหรือไมํ ในประเด็นนี้จะต๎องพิจารณา พระราชบัญญัติคณะกรรมการ
                   สิทธิมนุษยชนแหํงชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งมีหลักกฎหมายที่เกี่ยวข๎องคือ


                           - ความหมายของ “สิทธิมนุษยชน” ซึ่งหมายความวํา “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพและ
                   ความ เสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรองหรือคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือ ตาม
                                                                                     147
                   กฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตาม”

                           - อํานาจหน๎าที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ ครอบคลุมถึง “… (2) ตรวจสอบและรายงาน

                   การกระท าหรือการละเลยการกระท าอันเป็นการละเมิด  สิทธิมนุษยชนหรืออันไม่เป็นไปตามพันธกรณี
                   ระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ ประเทศไทยเป็นภาคี และเสนอมาตรการการแก้ไขที่เหมาะสมต่อ
                   บุคคลหรือหน่วยงานที่กระท า  หรือละเลยการกระท าดังกล่าวเพื่อด าเนินการ  ในกรณีที่ปรากฏว่าไม่มีการ
                                                                         148
                   ด าเนินการตามที่เสนอ ให้รายงานต่อรัฐสภาเพื่อด าเนินการต่อไป”




                           ดังนั้น จะเห็นได๎วํา กรณีข๎อเท็จจริงที่มีการปฏิบัติแตกตํางกัน แตํไมํเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือก
                   ปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน ก็ยังอาจตกอยูํภายใต๎ขอบเขตอํานาจการตรวจสอบของคณะกรรมการ
                   สิทธิมนุษยชนแหํงชาติได๎ เนื่องจากการกลําวอ๎างวํามีการเลือกปฏิบัตินั้น อาจเข้าเหตุการล่วงละเมิด “สิทธิ
                   มนุษยชน”  เรื่องอื่นๆ เชํน เสรีภาพในการนับถือศาสนา เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ศักดิ์ศรีของ

                   ความเป็นมนุษย์ ซึ่งอาจจําแนกได๎ 4 กรณีดังนี้






                   147  พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ พ.ศ. 2542, มาตรา 3
                   148
                      พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ พ.ศ. 2542, มาตรา 15
   303   304   305   306   307   308   309   310   311   312   313