Page 306 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 306
282
สิทธิเรียกเก็บคําธรรมเนียมตามกฎหมายที่เกี่ยวข๎อง จึงไมํปรากฏวํามีการละเมิดสิทธิมนุษยชน (รายงานผล
การพิจารณาที่ 1079/2558) กรณีนี้จะเห็นได๎วํา การเรียกเก็บคําธรรมเนียมพิเศษมิได๎เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํง
การเลือกปฏิบัติ นอกจากนี้ยังอาจพิจารณาได๎วํา โรงเรียนดังกลําวเรียกเก็บคําธรรมเนียมนั้นกับนักเรียนทุก
คนจึงไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ แตํมีประเด็นนําพิจารณาวําวําหากนําหลักการเลือกปฏิบัติโดยอ้อมมาพิจารณา
ถึงผลกระทบ (Effect) แล๎วจะมีนักเรียนบางคนที่อยูํในกลุํมเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติไมํสามารถ
เข๎าเรียนได๎หรือไมํ อยํางไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบกับโรงเรียนอื่นจะเห็นได๎วํา โรงเรียนในกรณีนี้มีลักษณะ
แตกตํางจากโรงเรียนอื่นที่ไมํเก็บคําธรรมเนียม
- กรณีผู๎ร๎องได๎ร๎องเรียนวําบุตรชายของผู๎ร๎องถูกสั่งพักการเรียนด๎วยเหตุไมํเหมาะสมและไมํเป็น
ธรรมตํอบุตรผู๎ร๎อง กรณีเหตุแหํงการพักการเรียนเกี่ยวข๎องกับ “พฤติกรรม” ของนักเรียน คณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนเห็นวํา เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อเด็ก (รายงานผลการตรวจสอบที่ 865/2555)
กรณีนี้มีข๎อนําสังเกตวํา การปฏิบัติที่พิพาทนั้นหากพิจารณาในบริบทของการเปรียบเทียบระหวํางการปฏิบัติ
ตํอเด็กผู๎นั้นกับการปฏิบัติตํอเด็กนักเรียนคนอื่น แล๎วจะเห็นได๎วํา มิได๎มีการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุที่เด็กซึ่งถูก
พักการเรียนนั้นเป็น “เด็ก” แตํเหตุที่เด็กผู๎นั้นถูกปฏิบัติแตกตํางสืบเนื่องจาก “พฤติกรรม” ซึ่งเหตุนี้มิได๎
เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน อยํางไรก็ตามกรณีนี้เป็นการตีความการ
เลือกปฏิบัติในกรอบของกฎหมายเฉพาะ คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 22
- คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเห็นวําการที่สํานักงาน ก.พ. ได๎อนุมัติในหลักการวํา การ
กําหนดตําแหนํงที่มีผลทําให๎คําใช๎จํายด๎านบุคคลของสํวนราชการเพิ่มขึ้น ให๎สํวนราชการนําตําแหนํงวํางที่มี
เงินมายุบเลิก และตํอมา สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได๎มีหนังสือขอยกเว๎นหลักเกณฑ์ดังกลําวใน
ตําแหนํงสายงานแพทย์และทันตแพทย์ โดยขอให๎การกําหนดตําแหนํงสูงขึ้นของทั้งสองตําแหนํงนี้เป็นระดับ
เชี่ยวชาญโดยไมํต๎องนําตําแหนํงวํางมายุบรวม ซึ่งสํานักงาน ก.พ.อนุมัติ ทําให๎ตําแหนํงสายงานแพทย์ไมํต๎อง
นําตําแหนํงวํางมายุบรวม เป็นกรณีที่ส านักงาน ก.พ. ปฏิบัติต่อบุคลากรต าแหน่งสายงานอื่นที่ท าหน้าที่
ให้บริการสาธารณสุขโดยไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะระหวํางบุคลากรที่มีสถานะเป็นแพทย์ กับ บุคลากรที่มี
สถานะอื่น คือ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักรังสีการแพทย์ ฯลฯ นอกจากนี้ การที่สํานักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขได๎มีหนังสือขอให๎สํวนราชการในสังกัดระงับการใช๎ตําแหนํงวําง เพื่อนําตําแหนํง
วํางดังกลําวมาใช๎บรรจุแตํงตั้งนักเรียนทุนของรัฐบาลในสายงานแพทย์ และทันตแพทย์ ก็เป็นการปฏิบัติที่
ไม่เป็นธรรมต่อบุคลากรต าแหน่งสายงานอื่นที่ท าหน้าที่ให้บริการสาธารณสุข (รายงานผลการพิจารณาที่
1/2555) กรณีนี้จะเห็นได๎วํา กฎระเบียบของภาครัฐปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันด๎วยเหตุ “ตําแหนํงงาน” ซึ่ง
มีประเด็นวํา เหตุดังกลําวสามารถจัดอยูํในเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายระหวํางประเทศได๎หรือไมํ
ทั้งนี้ในแงํหนึ่งอาจตีความวําจัดอยูํในความหมายของ “สถานะ” ของบุคคล แตํ ในอีกแงํหนึ่งอาจพิจารณา
ได๎วํา “ตําแหนํงงาน” อาจเกี่ยวข๎องกับ “อาชีพ” มากกวํา ซึ่งกฎหมายตํางประเทศบางประเทศ เชํน
ออสเตรเลียกําหนดให๎ “อาชีพ” เป็นเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติโดยเฉพาะ ในขณะที่อีกหลายประเทศ เชํน
แคนาดา รวมทั้งรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยที่ผํานมามิได๎กําหนด “อาชีพ” ไว๎เป็นเหตุแหํงการเลือก
ปฏิบัติเฉพาะ กรณีจากคําร๎องดังกลําวนี้จึงยังอาจอภิปรายกันได๎ตํอไป