Page 304 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 304

280


                           - กรณีการกําหนด “ประวัติอาชญากรรม” มาเป็นข๎อจํากัดในการประกอบอาชีพ ซึ่งแบํงเป็นกรณี
                   ข๎อจํากัดในการทํางานภาครัฐ และ ภาคเอกชน ซึ่งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเคยพิจารณาแล๎ว

                   เห็นวําไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ กลําวคือ กรณีภาครัฐนั้น ผลการพิจารณาเห็นวํา “กฎหมายกลุํมที่กําหนดให๎
                   การต๎องคําพิพากษาถึงที่สุดให๎จําคุกเป็นคุณสมบัติและลักษณะต๎องห๎ามในการเข๎ารับราชการ โดยไมํมีการ
                   กําหนดข๎อยกเว๎นให๎มีการใช๎ดุลพินิจยกเว๎นลักษณะต๎องห๎ามได๎ ควรมีการพิจารณาทบทวนปรับปรุงและ
                   แก๎ไขกฎหมายให๎สอดคล๎องกับมิติด๎านสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญและพันธกรณีระหวํางประเทศรับรอง

                   ไว๎” (รายงานผลการพิจารณาที่ 43/2555) สําหรับกรณีภาคเอกชน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติให๎
                   เหตุผลวํา “บริษัทเอกชนมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณารับบุคคลเข๎าทํางานแตกตํางกันไป…” (คํา
                   ร๎องที่ 486/2556, รายงานผลพิจารณาที่ 495/2558) ผู๎วิจัยเห็นวํากรณีนี้กฎหมายตํางประเทศบางประเทศ
                   กําหนดให๎ประวัติอาชญากรรมเป็นเหตุแหํงการเลือกฎิบัติโดยเฉพาะ อยํางไรก็ตามกฎหมายระหวํางประเทศ

                   มิได๎กําหนดเหตุนี้ไว๎อยํางชัดแจ๎ง นอกจากนี้ยังมีเหตุผลและปัจจัยอื่นที่จะต๎องนํามาประกอบการพิจารณาจึง
                   แยกวิเคราะห์เป็นหัวข๎อตํางหากตํอไป


                           - คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเห็นวํากรณีภาคเอกชนบังคับให๎ตรวจเลือดกํอนรับเข๎า
                   ทํางาน “…เป็นการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมและอาจละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี จึงไมํควรปิดกั้น
                   เรื่องการทํางานอันเป็นการเลือกปฏิบัติโดยเกินจําเป็นของลักษณะประเภทการจ๎างงานที่เป็นสาระสําคัญ ทั้ง
                   ที่บุคคลที่ติดเชื้อเอชไอวีสามารถปฏิบัติงานได๎ในสถานภาพเดียวกันโดยไมํจํากัดทางสุขภาพอนามัย”

                   (รายงานผลการพิจารณาที่ 308-309/2558)  จะเห็นได๎วํา กรณีการติดเชื้อเอชไอวี มิได๎บัญญัติไว๎ชัดแจ๎งใน
                   ฐานะเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ แตํอาจตีความวําอยูํในเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติกรณี
                   “สุขภาพ” ได๎





                           4.4.8 การเลือกปฏิบัติที่กว้างกว่า “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ”:  ค าร้องต่อคณะกรรมการสิทธิ
                   มนุษยชนแห่งชาติ


                           จากการศึกษาคําร๎องตํอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติในบทที่ 2 พบวํามีหลายกรณีที่ผู๎ร๎อง
                   อ๎างวํามีการ “เลือกปฏิบัติ” เกิดขึ้น ซึ่งมักเป็นกรณีการนําข๎อเท็จจริงสองข๎อเท็จจริงมาเปรียบเทียบกันวํามี
                   การปฏิบัติตํอข๎อเท็จจริงดังกลําวแตกตํางกัน อยํางไรก็ตามหากพิจารณาภายใต๎กรอบของกฎหมายสิทธิ

                   มนุษยชนแล๎วจะเห็นได๎วํา ในหลายกรณีตามคําร๎องนั้น การปฏิบัติแตกตํางกันดังกลําวไม่มีความเกี่ยวข้อง
                   กับ “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ” ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน อยํางไรก็ตาม หากการปฏิบัติแตกตํางดังกลําว
                   นั้นเป็นกรณีที่ผู๎ร๎องได๎รับความไมํเป็นธรรมอาจจะต๎องพิจารณาการคุ๎มครองภายใต๎บริบทของกฎหมายอื่น
                   เชํน กฎหมายปกครอง เป็นต๎น ตัวอยํางของคําร๎องในลักษณะเชํนนี้มีดังตํอไปนี้


                           - ผู๎ร๎องอ๎างวําไมํได๎รับความเป็นธรรมจากการปฏิบัติของโรงเรียนแหํงหนึ่ง กรณีบุตรสาวถูกเพื่อน
                   ชายลํวงละเมิดทางเพศในโรงเรียนและแจ๎งความแล๎วแตํคดีไมํมีความคืบหน๎า (คําร๎องที่ 476/2556) กรณีนี้

                   จะเห็นได๎วํา เป็นกรณีที่ผู๎ร๎องเห็นวําตนไมํได๎รับความเป็นธรรมในประเด็นที่วําคดีไมํมีความคืบหน๎า แตํไมํ
   299   300   301   302   303   304   305   306   307   308   309