Page 303 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 303
279
4.4.7 การปฏิบัติที่แตกต่างกันซึ่งจัดอยู่ในขอบเขตของ “การเลือกปฏิบัติ”: ค าร้องต่อ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
จากการศึกษาคําร๎องตํอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติในบทที่ 2 พบวํามีหลายกรณีที่ผู๎ร๎อง
อ๎างวํามีการ “เลือกปฏิบัติ” เกิดขึ้น ซึ่งมักเป็นกรณีการนําข๎อเท็จจริงสองข๎อเท็จจริงมาเปรียบเทียบกันวํามี
การปฏิบัติตํอข๎อเท็จจริงดังกลําวแตกตํางกัน หากพิจารณาภายใต๎กรอบของกฎหมายสิทธิมนุษยชนแล๎ว
การปฏิบัติแตกตํางกันดังกลําวอยูํภายใต๎ขอบเขตการเลือกปฎิบัติ เชํน มีความเกี่ยวข๎องกับ “เหตุแหํงการ
เลือกปฏิบัติ” ดังนี้ การปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้นก็จัดเป็น “การเลือกปฏิบัติ” ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน
ตัวอยํางของคําร๎องที่จัดอยูํในกลุํมนี้มีดังตํอไปนี้
- กรณีการสาบานตนกํอนเบิกความตามข๎อความในแบบพิมพ์ของศาลซึ่งกําหนดไว๎แตกตํางกัน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ มีข๎อเสนอแนะเชิงนโยบายในภาพรวมตํอสํานักงานศาลยุติธรรม
สํานักงานศาลปกครอง และ กรมพระธรรมนูญ เพื่อพิจารณาถึงรูปแบบและแนวทางการปฏิบัติที่เป็นไปใน
ทิศทางเดียวกัน เพื่อให๎เกิดความเป็นระบบในทุกชั้นศาลและเพื่อความเป็นสากล โดยควรที่จะเป็นการ
เฉพาะตัวของบุคคลที่กล่าวค าสาบาน ซึ่งไม่ควรมีการอ้างถึงครอบครัวในทุกศาสนา เพื่อให๎สอดคล๎องกับ
มาตรา 30 และ 35 ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (รายงานผลการพิจารณาที่
647/2555) กรณีนี้จะเห็นได๎วํา แบบพิมพ์ที่กําหนดไว๎สําหรับแตํละศาสนามีข๎อความแตกตํางกันโดยเฉพาะ
การพาดพิงผลร๎ายจากการสาบานไปยังครอบครัวซึ่งมีเฉพาะบางศาสนาแตํไมํปรากฏข๎อความดังกลําว
สําหรับบางศาสนา จึงเป็นความแตกตํางกันที่มีพื้นฐานจากเหตุ “ศาสนา”
- กรณีระเบียบคณะกรรมการปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม วําด๎วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขใน
การคัดเลือกเกษตรกร ซึ่งจะมีสิทธิได๎รับที่ดินจากการปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2535 ข๎อ 6 (4)
กําหนดไว๎วํา วําผู๎ที่มีสิทธิเข๎าทําประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. จะต๎องเป็น “ผู้มีร่างกายสมบูรณ์” โดยเจ๎าหน๎าที่
สํานักงานการปฎิรูปที่ดินจังหวัด ก ตีความหมายรวมถึงคนพิการทุกประเภท คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหํงชาติเห็นวํา “…การตีความดังกล่าวเป็นการตีความอย่างแคบ ท าให้ผู้ร้องถูกจ ากัดสิทธิและเสียสิทธิ
ในการเข๎าทําประโยชน์ในเขตปฎิรูปที่ดิน…” (รายงานผลการพิจารณาที่ 2/2555) กรณีนี้จะเห็นได๎วํา
ระเบียบและการตีความระเบียบดังกลําว เป็นการปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันด๎วยเหตุแหํงความพิการทาง
กาย
- ระเบียบกองทัพบกวําด๎วยดุริยางค์ทหารบก พ.ศ.2553 ตามผนวกข๎อ 3 เกี่ยวกับบัญชีโรคหรือ
ความผิดปกติหรือความพิการซึ่งขัดตํอการเป็นนักเรียนดุริยางค์ทหารบก ข๎อยํอย 3.1.1.3 ซึ่งระบุวํา
“แผลเป็นหรือปานที่หน้ามีเนื้อที่ตั้งแต่ 1.5ตารางนิ้วขึ้นไป หรือมีความยาวมากจนดูหน้าเกลียด”
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเห็นวํา เป็นระเบียบที่อาจท าให้เกิดการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม
(รายงานผลพิจารณาที่ 194/2557) กรณีนี้จะเห็นได๎วํา เป็นการปฏิบัติแตกตํางกันตํอบุคคลด๎วยเหตุ
“สภาพร่างกาย” อันระบุไว๎เฉพาะในรัฐธรรมนุญแหํงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550