Page 301 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 301
277
ให๎เหตุผลวํา “ไดรับความคุมครองตามกฎหมายและเปนไปตามพระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินใหกูยืมของ
สถาบันการเงินฯ และพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนธุรกิจหลักทรัพยและธุรกิจเครดิตฟองซิเอร
ฯ” (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 5/2542) คดีนี้จะเห็นได๎วํา การกลําวอ๎างอยูํบนพื้นฐานของเหตุที่ “กว๎าง
กวํา” เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนและเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ
อยํางไรก็ตามแม๎ศาลตัดสินวําไมํเป็นการเลือกปฏิบัติแตํก็มิได๎วินิจฉัยชัดเจนลงไปวํากรณีนี้ไมํเกี่ยวข๎องกับ
“เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ” แตํในอีกแงํหนึ่งอาจมองได๎วํา กฎหมายกําหนดหลักการปฏิบัติที่ “แตกตํางกัน”
ระหวํางกรณีบุคคลธรรมดาและสถาบันการเงินซึ่งเกี่ยวข๎องกับ “สถานะของบุคคล” อยํางไรก็ตาม แตํแม๎
กระนั้นการปฏิบัติที่แตกตํางกรณีนี้ก็อาจพิจารณาได๎วํามีเหตุผลอันสมควรในการกําหนดให๎บุคคลธรรมดา
กับสถาบันการเงินเรียกดอกเบี้ยได๎แตกตํางกัน
- กรณีการเปรียบเทียบความแตกตํางกันระหวํางประชาชนและหนํวยงานภาครัฐ โดยผู๎ร๎องอ๎างวํา
ประมวลรัษฎากร มาตรา 121 ให๎สิทธิและยกเว๎นแกํโจทก์ซึ่งเป็นหนํวยงานของรัฐ ไมํต๎องปิดอากรแสตมป์
ในหนังสือมอบอํานาจ แตํในขณะเดียวกันฝุายผู๎ร๎องต๎องปิดอากรแสตมป์ หากไมํปิดไมํสามารถรับฟังเป็น
พยานหลักฐานได๎.. กํอให๎เกิดความไมํเทําเทียมกันในกฎหมาย จึงขัดตํอรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญ
พิจารณาแล๎วเห็นวํา ประมวลรัษฎากร มาตรา 121 เป็นเรื่องการเสียอากร มีวัตถุประสงค์ที่จะเก็บจาก
ประชาชนที่จะได๎รับบริการจากรัฐ ไมํได๎มีวัตถุประสงค์ที่จะเก็บจากรัฐเอง การที่มาตรา 121 บัญญัติวํา ถ๎า
ฝุายที่ต๎องเสียอากรเป็นรัฐบาล เจ๎าพนักงานของรัฐที่กระทํางานของรัฐบาลโดยหน๎าที่ หรือบุคคลผู๎กระทํา
การในนามของรัฐบาลไมํต๎องเสียอากรแสตมป์ จึงชอบด๎วยวัตถุประสงค์ของกฎหมายดังกลําวแล๎ว ไมํได๎เป็น
การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอบุคคลทั่วไป (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 41/2547) จากคดีนี้จะเห็นได๎
วํา กฎหมายกําหนดหลักการปฏิบัติที่ “แตกตํางกัน” ระหวํางกรณีบุคคลธรรมดาและหนํวยงานของรัฐ ซึ่งมี
สภาพและลักษณะที่แตกตํางกัน ประกอบกับเหตุผลด๎านการเก็บภาษีจึงอยูํภายใต๎เงื่อนไขแตกตํางกันได๎โดย
ไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ แตํมีข๎อสังเกตวําศาลมิได๎วินิจฉัยชัดเจนลงไปวํากรณีนี้เกี่ยวข๎องกับ “เหตุแหํงการ
เลือกปฏิบัติ” หรือไมํ
- กรณีอ๎างวํา พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 มาตรา 45 ขัดหรือแย๎งกับ
รัฐธรรมนูญ มาตรา 29 และ 30 เนื่องจากบัญญัติให๎ผู๎รับโอนต๎องรับผิดในฐานะลูกหนี้รํวมกับผู๎โอนในภาษีที่
ค๎างชําระ “ไมํวําจะรับโอนมาด๎วยเหตุใดๆ” กฎหมายบัญญัติให๎ความคุ๎มครองรัฐฝุายเดียวด๎วยการปิดปากมิ
ให๎ผู๎รับโอนยกข๎อตํอสู๎ใดๆ ได๎เลย แม๎จะเป็นผู๎รับโอนที่สุจริตและมีคําตอบแทน ทําให๎ผู๎รับโอนเสียเปรียบ
ศาลรัฐธรรมนูญเห็นวํา กฎหมายดังกลําวตราขึ้นเพื่อให๎รัฐโดยองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นหารายได๎จากการ
จัดเก็บภาษีสําหรับใช๎จํายในการบริหารกิจการสาธารณะตามอํานาจหน๎าที่ขององค์กร อันเป็นกิจการเพื่อ
สาธารณะประโยชน์ ภาษีโรงเรือนและที่ดินเป็นภาษีอากรอยํางหนึ่งตามรัฐธรรมนูญมาตรา 69 บุคคลมี
หน้าที่เสียภาษีอากร กฎหมายดังกล่าวจึงเป็นบทกฎหมายเฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญก าหนดและเทําที่
จําเป็น ไมํกระทบกระเทือนสาระสําคัญแหํงสิทธิและเสรีภาพ มีผลใช๎บังคับเป็นการทั่วไปมิได๎มุํงหมายให๎ใช๎
บังคับแกํกรณีใดกรณีหนึ่งหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง ใช๎กับบุคคลโดยเสมอกันและให๎ความ
คุ๎มครองแกํบุคคลอยํางเทําเทียมกันไม่มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความ
แตกต่างในเรื่องถิ่นก าเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะ