Page 302 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 302
278
ทางเศรษฐกิจหรือสังคม...การเรียกเก็บภาษีโรงเรือนที่ค๎างชําระจากผู๎รับโอนที่ดินและโรงเรือนรํวมกับผู๎โอน
จึงไมํขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญมาตรา 29 และ 30 (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 41/2548) จะเห็นได๎วํา
ดคีนี้มีการอ๎างวํากฎหมายมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุที่กว๎างกวําเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตาม
กฎหมายสิทธิมนุษยชน โดยศาลในคดีนี้นอกจากจะให๎เหตุผลวํากฎหมายดังกลําวมีผลใช๎บังคับกับทุกคนเทํา
เทียมกันแล๎วยังอธิบายไว๎อยํางชัดเจนวําไมํเกี่ยวข๎องกับ “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ” ตามที่กําหนดไว๎ใน
รัฐธรรมนูญ นอกจากนี้หากเปรียบเทียบคดีนี้กับ คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 41/2547 จะเห็นได๎วํา
กฎหมายที่พิพาทมีเหตุผลเกี่ยวเนื่องกับการกําหนดหน๎าที่แกํประชาชนเกี่ยวกับภาษีซึ่งเป็นเหตุผลสําคัญอีก
ประการหนึ่งด๎วย
- กรณีการอ๎างวํา กฎหมายสร๎างความไมํเทําเทียมกันและเป็นการเลือกปฏิบัติเนื่องจากกําหนด
กระบวนการพิจารณาความผิดทางวินัยแตกตํางกันระหวํางข๎าราชการบางประเภท คดีนี้ผู๎ร๎องอ๎างวํา
พระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญวําด๎วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 ขัดตํอ
รัฐธรรมนูญ มาตรา 30 โดยได๎กําหนด กระบวนการพิจารณาความผิดวินัยไว๎เป็นพิเศษสําหรับผู๎ดํารง
ตําแหนํงผู๎พิพากษาศาลยุติธรรม ตุลาการ ศาลปกครอง และพนักงานอัยการ ทําให๎การพิจารณาความผิด
วินัยอยูํในอํานาจขององค์กรนั้นเอง ซึ่งแตกตํางจากข๎าราชการทั่วไปที่ต๎องถูกพิจารณาความผิดวินัยโดย
คณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม ศาลรัฐธรรมนูญนําปัจจัยเกี่ยวกับ
ลักษณะเฉพาะของข๎าราชการตุลาการ อัยการ ที่อยูํภายใต๎หลักความเป็นอิสระตามลักษณะของภารกิจมา
ประกอบการพิจารณาแล๎ว วินิจฉัยวํา กฎหมายดังกลําวเป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพื่อให๎การดําเนินการ
ทางวินัยซึ่งเป็นสํวนหนึ่งของการบริหารงานบุคคลของข๎าราชการ ตุลาการศาลยุติธรรม ข๎าราชการตุลาการ
ศาลปกครอง และข๎าราชการอัยการมีความเป็นอิสระ ตามลักษณะของภารกิจดังที่บัญญัติไว๎ในรัฐธรรมนูญ
ซึ่งไมํมีลักษณะขัดตํอหลักความเสมอภาคหรือ เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอบุคคล ตาม
รัฐธรรมนูญ มาตรา 30 แตํอยํางใด” (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 21/2556) คดีนี้จะเห็นได๎วํา กฎหมายที่
พิพาทมิได๎มีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุตํางๆของการเลือกปฏิบัติ แตํเป็นกรณีตัวอยํางของการที่ผู๎
ร๎องอ๎างวํามีการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุที่กว๎างกวําเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน
นอกจากนี้ ในการนําหลัก “ลักษณะของภารกิจ” ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของงานแตํละประเภทมาพิจารณา
นั้น อาจเทียบได๎กับกรณีของคุณสมบัติจําเป็นเฉพาะของงาน (Genuine Occupational Requirement)
ซึ่งเป็นเหตุผลของการปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันได๎