Page 299 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 299

275





                           4.4.6 การเลือกปฏิบัติที่กว้างกว่า “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ”: คดีของศาลรัฐธรรมนูญ

                           จากคดีที่ขึ้นสูํการพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พบวํามีหลายคดีที่มีประเด็นกลําวอ๎างวํากฎหมาย

                   บางฉบับเป็นการเลือกปฏิบัติหรือกํอให๎เกิดภาระหน๎าที่ตํอบุคคลที่ไมํเทําเทียมกันอันขัดตํอรัฐธรรมนูญ ซึ่ง
                   หากเปรียบเทียบหลักการและข๎อเท็จจริงแล๎ว พบวํา อาจเป็นกรณีกฎหมายที่พิพาทสํงผลให๎เกิดความ
                   “แตกตํางกัน” แตํไมํเกี่ยวข๎องกับ “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ” หรืออาจเป็นกรณีกฎหมายที่พิพาทนั้นสํงผล

                   ให๎เกิดความ “แตกตํางกัน” แตํมีเหตุผลอันสมควรประการอื่นที่ศาลนํามาพิจารณาตัดสินวําไมํเป็นการเลือก
                   ปฏิบัติอันขัดตํอรัฐธรรมนูญ ดังจะได๎จําแนกวิเคราะห์ตํอไปนี้


                           - การอ้างว่ากฎหมายบางฉบับสร้างความไม่เท่าเทียมกันและเป็นการเลือกปฏิบัติ โดยที่ไม่เกี่ยวข้อง
                   กับเหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ เช่น


                               # คดีที่ผู๎ร๎องอ๎างวําการกําหนดเงื่อนไขเพื่อกํอให๎เกิดสิทธิประโยชน์และการกําหนดเงื่อนไขเวลา
                   ขอใช๎สิทธิประโยชน์หรือการสิ้นสิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคมฯ มาตรา 56  วรรคหนึ่ง
                   และ มาตรา 65  วรรคหนึ่ง  ขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญ มาตรา ...29  และ มาตรา 30  ศาลรัฐธรรมนูญ
                   พิจารณาแล๎วเห็นวํา ...การกําหนดระยะเวลายื่นคําร๎องขอรับประโยชน์ทดแทนภายในหนึ่งปีก็มีผลใช้บังคับ

                   กับลูกจ้างทุกคน... เงื่อนไขดังกลําวไมํกระทบกระเทือนสาระสําคัญแหํงสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล และมี
                   ผลใช๎บังคับเป็นการทั่วไป มิได๎มุํงหมายให๎ใช๎บังคับแกํกรณีใดกรณีหนึ่ง หรือแกํบุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการ
                   เจาะจงและไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 29 และ 30 (คําวินิจฉัยศาล

                   รัฐธรรมนูญที่ 3/2546)

                              # คดีที่ผู๎ร๎องอ๎างวํา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง มาตรา 236 ขัดตํอหลักความเทํา

                   เทียมกันตามรัฐธรรมนูญนั้น ศาลรัฐธรรมนูญเห็นวํา กฎหมายดังกลําวเป็นบทบัญญัติให๎สิทธิแกํคูํความยื่น
                   คําร๎องอุทธรณ์คําสั่งของศาลชั้นต๎นที่ปฏิเสธไมํยอมรับอุทธรณ์ตํอศาลอุทธรณ์ หากเห็นวําคําสั่งของศาล
                   ชั้นต๎นไมํชอบด๎วยกฎหมาย จึงเป็นบทบัญญัติที่บังคับใช้โดยทั่วไป (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 10/2549)


                               # คดีที่มีการอ๎างวํา พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542
                   มาตรา 51 ขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา ... 28 30 หรือไมํ
                   ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎วเห็นวํามาตรา 51 ดังกลําวเป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องระยะเวลาการฟูองคดี
                   ที่กําหนดให๎ผู๎ฟูองคดีที่มีข๎อพิพาทเกี่ยวกับการกระทําละเมิดหรือความรับผิดอยํางอื่น ตามมาตรา 9 วรรค

                   หนึ่ง (3)  และคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (4)  จะต๎องยื่นฟูองคดีตํอศาล
                   ปกครองภายในหนึ่งปี นับแตํวันที่รู๎หรือควรรู๎ถึงเหตุแหํงการฟูองคดี ศาลรัฐธรรมนูญเห็นวํารัฐธรรมนูญ
                   มาตรา 30 เป็นบทบัญญัติให๎บุคคลทุกคนยํอมเสมอกันในกฎหมาย และได๎รับการคุ๎มครองโดยเทําเทียมกัน

                   ในกฎหมายที่บุคคลนั้นถูกบังคับใช๎อยูํ กลําวคือ หากผู้ฟ้องคดีน าคดีมาขึ้นสู่ศาลปกครอง กระบวนวิธี
                   พิจารณาความก็ย่อมมีความเท่าเทียมกันกับบุคคลอื่นที่น าคดีมาขึ้นสู่ศาลปกครองเช่นเดียวกัน มาตรา
   294   295   296   297   298   299   300   301   302   303   304