Page 300 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 300

276


                   51 ดังกลําวจึงมิได๎ให๎สิทธิแกํบุคคลที่จะฟูองคดีตํอศาลปกครองให๎แตกตํางกัน จึงมิได๎ขัดรัฐธรรมนูญฯ
                   มาตรา 30 แตํอยํางใด (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 11/2550)


                               #  กรณีที่ผู๎เชําซื้อรถยนต์ของกลาง อ๎างวําไมํมีสํวนรํวมหรือรู๎เห็นเป็นใจให๎มีการนํารถยนต์
                   ดังกลําวไปใช๎ในการกระทําความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดแตํอยํางใด รวมทั้งอ๎างวําการริบรถยนต์

                   ดังกลําวตามพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู๎กระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534
                   มาตรา 30 วรรคสองและวรรคสี่ เป็นบทบัญญัติที่ขัดหรือแย๎งกับรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย
                   พุทธศักราช 2540 มาตรา 30... ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวํา ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎วเห็นวํา กฎหมาย
                   ดังกลําวเป็นบทบัญญัติที่กําหนดกระบวนการทางกฎหมายเพื่อเปิดโอกาสให๎บุคคลผู๎เป็นเจ๎าของทรัพย์สินที่

                   ถูกศาลสั่งริบในคดียาเสพติด ...ใช๎สิทธิร๎องคัดค๎านคําร๎องขอให๎ริบทรัพย์สินของพนักงานอัยการได๎ จึงเป็น
                   บทบัญญัติแห่งกฎหมาย มีผลใช้บังคับต่อบุคคลเป็นการทั่วไปโดยเสมอกันไม่ได้ยกเว้นให้ใช้บังคับกับ
                   บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือท าให้บุคคลไม่ได้รับความเสมอกันในกฎหมายหรือไม่ได้รับความคุ้มครองตาม
                   กฎหมายเท่าเทียมกัน และไม่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลแต่อย่างใด บทบัญญัติ

                   ดังกลําวจึงไมํขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 30 (คําวินิจฉัย
                   ศาลรัฐธรรมนูญที่ 1/2551)


                               # คดีที่มีประเด็นวํา พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 เป็นการเลือกปฏิบัติ
                   และขัดตํอรัฐธรรมนูญนั้น ศาลวินิจฉัยวํา ... บทบัญญัติดังกลําวจึงเป็นบทบัญญัติที่กําหนดสาระสําคัญ
                   เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ทรัพย์สิน และรายได๎ของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อให๎การบริหารจัดการ
                   จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีความเป็นอิสระและมีความ  คลํองตัว สอดคล๎องกับหลักการบริหารจัดการของ

                   หนํวยงานในกํากับของรัฐซึ่งไมํเป็นสํวนราชการและ  รัฐวิสาหกิจ ...โดยบทบัญญัติดังกลําว  ใช้บังคับแก่
                   บุคคลที่เกี่ยวข้องตามที่กฎหมายก าหนดโดยเสมอกันและไม่มีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็น
                   ธรรมตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 แตํอยํางใด” (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 31/2555)


                           จากคดีทั้ง 5 ดังกลําวข๎างต๎นจะเห็นได๎วํากฎหมายที่พิพาทมิได๎มีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติด๎วย
                   เหตุตํางๆ ของการเลือกปฏิบัติ แตํเป็นกรณีตัวอยํางของการที่ผู๎ร๎องอ๎างวํากฎหมายมีลักษณะเป็นการเลือก

                   ปฏิบัติด๎วยเหตุที่กว๎างกวําเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน อยํางไรก็ตามแม๎ศาลตัดสิน
                   วําไมํเป็นการเลือกปฏิบัติแตํก็มิได๎วินิจฉัยชัดเจนลงไปวํากรณีนี้ไมํเกี่ยวข๎องกับ “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ”
                   โดยศาลให๎เหตุผลวํากฎหมายดังกลําวมีผลใช๎บังคับกับทุกคนเทําเทียมกัน ซึ่งเป็นเหตุผลอันสอดคล๎องกับ
                   หลักการเลือกปฏิบัติโดยตรงนั่นเอง


                           - กรณีการเปรียบเทียบระหวํางการเรียกดอกเบี้ยของสถาบันการเงิน และ องค์กรหรือบุคคลอื่นที่
                   มิใชํสถาบันการเงิน จะเห็นได๎วําการเรียกดอกเบี้ยมีความแตกตํางกัน (Distinction/Differentiation) โดย

                   กฎหมายกําหนดให๎สามารถเรียกแตกตํางกันได๎ อยํางไรก็ตาม หากพิจารณาหลักการเลือกปฏิบัติตาม
                   กฎหมายสิทธิมนุษยชนแล๎วจะเห็นได๎วํา ความ “แตกตําง”  นี้ยังไมํถือเป็น “การเลือกปฏิบัติ”  เนื่องจาก
                   ความแตกตํางในการเรียกดอกเบี้ยดังกลําวมิได๎สืบเนื่องจาก “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ” ตามกฎหมายสิทธิ
                   มนุษยชน เชํน เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ฯลฯ อยํางไรก็ตามศาลรัฐธรรมนูญมิได๎ระบุถึงเหตุผลเหลํานี้เนื่องจาก
   295   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305