Page 298 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 298
274
# กรณีที่มีการอ๎างวํา บทบัญญัติของพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการฝายตุลาการศาล
ยุติธรรม พ.ศ. 2543 มาตรา 26 (10) ที่กําหนดคุณสมบัติผู๎สมัครเข๎ารับการคัดเลือกไว๎วํา “(10) ไมเป็นคนไร
ความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ คนวิกลจริต หรือ จิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือมีกายหรือจิตใจ
ไมํเหมาะสมที่จะเป็นข๎าราชการตุลาการหรือเปนโรค ที่ระบุไว๎ในระเบียบของ ก.ต” นั้น ผู๎ร๎องเรียนและผู๎
ร๎องเห็นวํา การตัดสิทธิสอบบุคคลด๎วยเหตุผลดังกลําว ถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมเพราะเหตุ
แหํงความแตกตํางในเรื่องสภาพทางกายหรือความพิการ บทบัญญัติแหํงกฎหมายดังกลําวจึงขัดหรือแย๎งตํอ
รัฐธรรมนูญ แหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 30 ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาลักษณะสภาพ
ของงานแล๎วเห็นวํา ความพิการมิได๎เป็นอุปสรรคตํอการปฏิบัติหน๎าที่ของผู๎จะเป็นข๎าราชการตุลาการ ที่จะมี
ผลตํอการให๎ความเป็นธรรมแกํคูํความหรือผู๎เกี่ยวข๎อง พระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการฝุายตุลาการศาล
ยุติธรรม พ.ศ. 2543 มาตรา 26 วรรคหนึ่ง (10) ในสํวนที่บัญญัติให๎ผู๎สมัครสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุ เป็น
ข๎าราชการตุลาการต๎องมีคุณสมบัติและไมํมีลักษณะต๎องห๎ามวํา “มีกายหรือจิตใจไมํเหมาะสมที่จะเป็น
ข๎าราชการตุลาการ” จึงขัดตํอสิทธิของคนพิการในการเข๎าทํางานบนพื้นฐานที่เทําเทียมกับบุคคลทั่วไปตาม
อนุสัญญาวําด๎วยสิทธิคนพิการของสหประชาชาติ และเป็นการเลือกปฏิบัติตํอบุคคลโดยไมํเป็นธรรมเพราะ
เหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องความพิการ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรคสาม (คําวินิจฉัยศําลรัฐธรรมนูญ
ที่ 15/2555)
จะเห็นได๎วํา คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 15/2555 นี้มีประเด็นสําคัญเชํนเดียวกับ คําวินิจฉัยศาล
รัฐธรรมนูญที่ 16/2545 และ คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 44/2545 กลําวคือ กฎหมายกําหนดคุณสมบัติ
ผู๎สมัครเข๎ารับราชการแตกตํางกันด๎วยเหตุสภาพรํางกายโดยเฉพาะกรณีของความพิการ ซึ่งจัดอยูํในเหตุแหํง
การเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน อยํางไรก็ตาม สองคดีแรกเป็นการพิจารณาตามรัฐธรรมนูญ
ฉบับปี 2540 ซึ่งมิได๎ระบุ “ความพิการ” ไว๎อยํางชัดเจน ในขณะที่ คดีหลังนั้นตัดสินตาม รัฐธรรมนูญฉบับปี
2550 ซึ่งระบุ “ความพิการ” ไว๎อยํางชัดเจน ทั้งนี้เนื่องจาก ประเทศไทย ได๎ให๎สัตยาบันอนุสัญญาวําด๎วย
สิทธิคนพิการ (Convention on the Rights of Persons with Disabilities : CRPD) ของสหประชาชาติ
เมื่อวันที่ 29กรกฎาคม 2551 ซึ่งมีผลบังคับให๎ประเทศไทยต๎องปฏิบัติตาม พันธกรณีที่ระบุไว๎ในอนุสัญญา
ดังกลําวตั้งแตํวันที่ 28 สิงหาคม 2551 เป็นต๎นมา นอกจากนี้ยังมีข๎อสังเกตวํา ศาลนําปัจจัยเกี่ยวกับความ
จําเป็นและลักษณะของงานที่พิพาทมาประกอบการวินิจฉัยด๎วย ซึ่งหากตามลักษณะของงานดังกลําวมีความ
จําเป็นที่จะต๎องกําหนดคุณสมบัติบุคคลให๎แตกตํางกัน ก็อาจเข๎าข๎อยกเว๎นของหลักห๎ามเลือกปฏิบัติ ซึ่งตาม
กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศและกฎหมายตํางประเทศก็มีการกําหนดข๎อยกเว๎นกรณีคุณสมบัติที่
146
จําเป็นของงานไว๎ (Genuine Occupational Requirement) อยํางไรก็ตามในกรณีนี้ศาลเห็นวําความ
พิการมิได๎เป็นอุปสรรคตํอตําแหนํงงานข๎าราชการตุลาการแตํอยํางใด จากการศึกษาคดีทั้ง 3 ข๎างต๎นจะเห็น
ได๎วํา เป็นกรณีที่เกี่ยวข๎องกับการเลือกปฏิบัติในบริบทของรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข๎องกับ “เหตุแหํงการเลือก
ปฏิบัติ” ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน
146 เชํน Article 4 (1) EU Framework Directive กําหนดวําการปฏิบัติที่แตกตํางกันด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติไมํถือ
เป็นการเลือกปฏิบัติหากมีเหตุผลเกี่ยวกับความจําเป็นตามลักษณะเฉพาะของงานนั้น