Page 297 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 297

273


                   แตํประการใด จึงมิใชํเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอบุคคลเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องเพศ
                   (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 37/2546)  จากคําวินิจฉัยคดีนี้ หากเปรียบเทียบระหวําง กรณีชายไทยสมรส

                   กับหญิงตํางด๎าว กับ กรณีชายตํางด๎าวสมรสกับหญิงไทย นั้น จะเห็นได๎วําการได๎สัญชาติไทยของคนตํางด๎าว
                   ทั้งสองกรณีอยูํภายใต๎หลักกฎหมายที่แตกตํางกัน  โดยหลักแล้วเป็นการปฏิบัติที่แตกต่างกันในระดับ
                   หลักการของกฎหมายและเกี่ยวข้องกับเหตุแห่งการเลือกปฏิบัติคือเพศ แตํศาลวินิจฉัยวําไมํเป็นการเลือก
                   ปฏิบัติเนื่องจากนําปัจจัยเหตุผลด๎านอื่นมาประกอบการพิจารณา เชํน ชายตํางด๎าวยังมีชํองทางอื่นตาม

                   กฎหมายในการได๎มาซึ่งสัญชาติไทย นอกจากนี้ยัง “เป็นมาตรการรัฐที่กําหนดขึ้นให๎เหมาะสมกับสภาพ
                   สังคมและความมั่นคงของประเทศ” ซึ่งอาจพิจารณาเปรียบเทียบได๎กับหลัก “ขอบแหํงดุลพินิจ” (Margin
                   of Appreciation) ดังจะได๎แยกวิเคราะห์ตํางหาก


                           - กรณีเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุสภาพรํางกายโดยเฉพาะกรณี “ความพิการ”  นั้น พบวํามี
                   คําวินิจฉัย 3 กรณีที่สําคัญคือ


                               # กรณีที่มีการอ๎างวํา บทบัญญัติของพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการฝายตุลาการศาล
                   ยุติธรรม พ.ศ. 2543 มาตรา 26 (10) ที่กําหนดคุณสมบัติผู๎สมัครเข๎ารับการคัดเลือกไว๎วํา “(10) ไมเป็นคนไร
                   ความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ คนวิกลจริต หรือ จิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือมีกายหรือจิตใจ

                   ไมํเหมาะสมที่จะเป็นข๎าราชการตุลาการหรือเปนโรค ที่ระบุไว๎ในระเบียบของ ก.ต” นั้นเป็นการเลือกปฏิบัติ
                   อันขัดตํอรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 กรณีนี้เห็นได๎วําเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติคือ “ความพิการ”
                   แตํศาลนําข๎อยกเว๎นตามรัฐธรรมนูญมาวินิจฉัยวํา เป็นลักษณะตามตามข๎อยกเว๎นของรัฐธรรมนูญแหํง
                   ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 มาตรา 29 ซึ่งไมกระทบกระเทือนถึงสาระสําคัญแหํงสิทธิและเสรีภาพ

                   มีผลใชบังคับเปนการทั่วไปและไมํมุงหมายใหใชบังคับแกกรณีใดกรณีหนึ่งหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเปนการ
                   เจาะจง และไมเป็นการเลือกปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 นอกจากนี้มีข๎อสังเกตวํา ตามรัฐธรรมนูญปี
                   2540 ยังมิได๎ระบุถึง “ความพิการ” ไว๎เป็นเหตุหนึ่งตามมาตรา 30 อยํางชัดแจ๎ง (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ

                   ที่ 16/2545)

                               #  กรณีที่มีการอ๎างวํา พระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการฝุายอัยการ พ.ศ. 2521 มาตรา 33

                   (11)  ที่กําหนดคุณสมบัติผู๎สมัครเข๎ารับการคัดเลือกวํา “ไมํเป็นคนไร๎ความสามารถ หรือคนเสมือนไร๎
                   ความสามารถ หรือ จิตฟั่นเฟือนไมํสมประกอบ หรือมีกายหรือจิตใจไมํเหมาะสมที่จะเป็นข๎าราชการอัยการ
                   หรือเป็นโรคที่ระบุ ไว๎ในกฎกระทรวง….” นั้นเป็นการเลือกปฏิบัติอันขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540
                   กรณีนี้เห็นได๎วําเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติคือ “ความพิการ” แตํศาลนําข๎อยกเว๎นตามรัฐธรรมนูญ

                   มาวินิจฉัยวํา บทบัญญัติของพระราชบัญญัติ ระเบียบข๎าราชการฝุายอัยการ พ.ศ. 2521 มาตรา 33  (11)
                   เป็นไปตามความจําเป็นและความเหมาะสมของฝุายอัยการ เป็นลักษณะตามข๎อยกเว๎นของ
                   รัฐธรรมนูญ มาตรา 29 ซึ่งไมํกระทบกระเทือนถึงสาระสําคัญแหํงสิทธิและเสรีภาพ มีผลใช๎บังคับเป็นการ
                   ทั่วไปและไมํมุํงหมายให๎ใช๎บังคับแกํกรณีใดกรณีหนึ่งหรือแกํบุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง และไมํเป็น

                   การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 44/2545)
   292   293   294   295   296   297   298   299   300   301   302