Page 296 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 296

272


                   รัฐธรรมนูญนําข๎อยกเว๎นมาพิจารณาวํากฎหมายนี้ “บังคับกับสามีและภริยาทั้งหมดที่มีเงินไดพึงประเมิน
                   เป็นการทั่วไป  อยางเทําเทียมกัน..”  แตํก็เป็นการใช๎บังคับโดยสร๎างความแตกตํางระหวํางเพศอยูํนั่นเอง

                   อยํางไรก็ตาม ศาลรัฐธรรมนูญก็ยอมรับวําการบังคับดังกลําว “กระทบตํอสิทธิและเสรีภาพของผู๎เป็นสามีอยูํ
                   บ๎าง” นอกจากนี้การที่ศาลนําข๎อยกเว๎นมาวินิจฉัยก็อาจมองได๎วําอันที่จริงแล๎วศาลเห็นวํากฎหมายดังกลําว
                   เป็นการปฏิบัติตํอบุคคลที่แตกตํางกันด๎วยเหตุแหํงเพศหรือสถานะของบุคคล โดยหลักแล๎วขัดตํอหลักความ
                   เทําเทียมกันแตํศาลชั่งน้ําหนักกับประโยชน์ของรัฐแล๎วเห็นวําเข๎าข๎อยกเว๎นอันทําให๎มีการปฏิบัติที่แตกตําง

                   กันได๎ แตํก็มีประเด็นนําพิจารณาตํอไปวํา การกําหนดให๎เฉพาะสามีนําเงินได๎ของภริยามารวมคํานวณ แตํ
                   ในทางกลับกันไมํให๎ภริยานําเงินได๎ของสามีไปรวมคํานวณกับเงินได๎ของตน ทําให๎เกิดประโยชน์มากน๎อย
                   แตกตํางกันเพียงใดในการจัดเก็บภาษีของรัฐ และมีผลกระทบตํอการบริหารจัดการภาษีของรัฐแตกตําง
                   อยํางไรหากกําหนดให๎สิทธิผู๎เสียภาษีอยํางเทําเทียมกันโดยสามารถเลือกระหวําง การให๎สามีนําเงินได๎ของ

                   ภริยาไปรวมกับสามี และ การให๎ภริยานําเงินได๎ของสามีมารวมกับภริยา

                           ในคดีที่สอง ได๎มีการยกประเด็นประมวลรัษฎากร มาตรา 57 ตรี มาสูํการพิจารณาของศาล

                   รัฐธรรมนูญอีกครั้งภายใต๎บทบัญญัติความเทําเทียมกันตามรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550 ศาลรัฐธรรมนูญ
                   วินิจฉัยวํา “...ประมวลรัษฎากร มาตรา 57 ตรี ที่บัญญัติให๎สามีและภริยาที่อยูํรํวมกันตลอดปีภาษีที่ลํวง
                   มาแล๎ว ต๎องถือเอาเงินได๎พึงประเมินของภริยาเป็นเงินได๎ของสามี และให๎สามีมีหน๎าที่และความรับผิดในการ
                   ยื่นรายการและ  เสียภาษี แตํถ๎ามีภาษีค๎างชําระและภริยาได๎รับแจ๎งลํวงหน๎าไมํน๎อยกวํา 7 วันแล๎วให๎ภริยา

                   รํวมรับผิดในการเสีย  ภาษีที่ค๎างชําระนั้นด๎วย เป็นการไมํยุติธรรมสําหรับภริยา เพราะภริยาอาจไมํมีสํวนรู๎
                   เห็นในเรื่องการยื่นรายการเสียภาษีด๎วย และทําให๎สามีภริยาต๎องเสียภาษีเพิ่มขึ้นจากกรณีที่ตํางฝุายตํางแยก
                   ยื่นเมื่อยังไมํมีการสมรส ประกอบกับ มาตรา 57 เบญจ บัญญัติให๎แตํเฉพาะภริยาที่มีเงินได๎พึงประเมินตาม

                   มาตรา 40 (1) สามารถแยกยื่นรายการ และเสียภาษีตํางหากจากสามี โดยมิให๎ถือวําเป็นเงินได๎ของสามีตาม
                   มาตรา 57 ตรี จึงถือวําเป็นการไมํสํงเสริมความเสมอภาคของชายและหญิง และยังเป็นการเลือกปฏิบัติโดย
                   ไมํเป็นธรรมตํอบุคคลเพราะเหตุแหํงความแตกตําง ในเรื่องสถานะของบุคคลภายหลังจากการสมรสตามที่ได๎
                   บัญญัติไว๎ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 30...”  (คําวินิจฉัยศําลรัฐธรรมนูญที่ 17/2555)  จะเห็นได๎วํา ในคดีนี้ศาล
                   รัฐธรรมนูญได๎ตัดสินอยํางสอดคล๎องกับหลักความเทําเทียมกันและการห๎ามเลือกปฏิบัติ เนื่องจากกฎหมาย

                   ดังกลําวกํอให๎เกิดความไมํเทําเทียมกันด๎วยเหตุแห่ง “สถานะของบุคคลภายหลังการสมรส”

                           - กรณีพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 ไมํได๎ให๎สิทธิแกํชายตํางด๎าวที่สมรสกับหญิงไทยในการที่

                   จะได๎สัญชาติ โดยการแปลงสัญชาติได๎เชํนเดียวกับหญิงตํางด๎าวที่สมรสกับชายสัญชาติไทยนั้น ศาล
                   รัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎วเห็นวํา พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 มาตรา 9 วรรคหนึ่งบัญญัติวํา “หญิง
                   ซึ่งเป็นคนตํางด๎าวและได๎สมรสกับผู๎มีสัญชาติไทย  ถ๎าประสงค์จะได๎สัญชาติไทย  ให๎ยื่นคําขอตํอพนักงาน

                   เจ๎าหน๎าที่ตามแบบและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง” เมื่อพิจารณาแล๎วไมํถือเป็นบทบัญญัติที่กํอให๎เกิด
                   ความไมํเสมอภาคกันใน  กฎหมายระหวํางชายและหญิง  หรือเป็นการทําให๎ชายและหญิงไมํได๎มีสิทธิเทํา
                   เทียมกันด๎วยเหตุที่เป็น  มาตรการที่รัฐกําหนดขึ้นให๎เหมาะสมกับสภาพสังคมและความมั่นคงของประเทศ
                   ซึ่งมิได๎ตัดสิทธิของชายตํางด๎าวที่สมรสกับหญิงสัญชาติไทยก็อาจได๎สัญชาติไทยตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข

                   ตามที่กฎหมายบัญญัติ คือมาตรา 10 11 และ 12 ซึ่งไมํได๎ยุํงยากและกํอให๎เกิดปัญหาในสถานะของบุคคล
   291   292   293   294   295   296   297   298   299   300   301