Page 295 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 295

271


                   คําสั่งศาลอุทธรณ์เป็นที่สุด ซึ่งผู๎ร๎องเห็นวําเป็นการจํากัดสิทธิและทําให๎เกิดความไมํเทําเทียมกัน ในประเด็น
                   นี้จะเห็นได๎วําหลักการดังกลําวใช๎บังคับกับคูํความทุกคนเทําเทียมกัน กลําวคือ คูํความที่โต๎แย๎งคําสั่งศาลใน

                   กรณีมีคําสั่งอนุญาตให๎ยกเว๎นคําธรรมเนียมศาลหรือคําสั่งให๎ยกคําร๎องนั้น จะถูกจํากัดสิทธิโต๎แย๎งโดยให๎ยุติที่
                   ศาลอุทธรณ์ ในสํวนนี้จึงไมํมีการปฏิบัติที่แตกตํางกันด๎วยฐานะทางเศรษฐกิจ อยํางไรก็ตาม ผู๎วิจัยเห็นวํายังมี
                   ประเด็นอื่นที่เกี่ยวข๎องกับการเลือกปฏิบัติแตํมิได๎เป็นประเด็นในคดีนี้ กลําวคือ การที่กฎหมายวิธีพิจารณา
                   ความแพ่งให้สิทธิคู่ความขอด าเนินคดีอย่างคนอนาถานั้นเป็นการเลือกปฏิบัติหรือไม่ จะเห็นได๎วํา

                   กฎหมายดังกลําว เป็นกฎหมายที่ปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันด๎วยเหตุแหํง “สถานะทางเศรษฐกิจ” แตํทั้งนี้
                   ไมํเป็นการเลือกปฏิบัติเนื่องจากกฎหมายมีวัตถุประสงค์เพื่อสํงเสริมให๎ผู๎เสียเปรียบทางสถานะดังกลําวได๎มี
                   โอกาสเทําเทียมกันในการดําเนินคดีในศาล


                           -  กรณีที่เกี่ยวข๎องกับความเทําเทียมและการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงเพศนั้น พบวํามีกรณีที่ผู๎ร๎อง
                   อ๎างวําประมวลรัษฎากรเลือกปฏิบัติตํอบุคคลด๎วยเหตุแหํงเพศ เนื่องจากกําหนดให๎ ผู๎ร๎อง (สามี) ต๎องนําเงิน
                   ได๎ของภริยา ซึ่งเป็นรายได๎อื่นที่ไมํใชํรายได๎ ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (1) มารวมคํานวณเปนเงินได๎

                   ของผู๎ร๎อง โดยไมกําหนดใหสามีมีสิทธิแยกยื่นรายการและเสียภาษีตํางหาก เฉพาะสวนที่เป็นเงินได๎พึง
                   ประเมินตามมาตรา 40 (1) ดวย จึงเปนกฎหมายที่เลือกปฏิบัติต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างใน
                   เรื่องเพศ ประเด็นนี้มีคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญสองคดี ซึ่งวินิจฉัยไว๎แตกตํางกัน คดีแรกตัดสินตาม
                   รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2540 คดีที่สองตัดสินตามรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550


                           - ในคดีแรก ผูรอง เห็นวา บทบัญญัติแหํงประมวลรัษฎากร มาตรา 57 ตรี และมาตรา 57 เบญจ
                   เป็นกฎหมายที่ทําใหบุคคลไมเสมอกันในกฎหมาย และไมไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน

                   ทําใหชายและหญิงมีสิทธิไมเทาเทียมกัน จึงขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 อยํางไรก็ตาม ศาล
                   รัฐธรรมนูญวินิจฉัยวํา “ประมวลรัษฎากร ...เป็นกฎหมายเพื่อประโยชนในการจัดเก็บภาษีของรัฐ มีผลใช๎
                   บังคับกับสามีและภริยาทั้งหมดที่มีเงินไดพึงประเมินเป็นการทั่วไปอยางเทําเทียมกัน จึงถือไมไดวา เป็นการ

                   เลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางใน เรื่องถิ่นกําเนิด เพศ อายุ สภาพทาง
                   กายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ตามที่  บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ มาตรา
                   30 วรรคสาม แมวาประมวลรัษฎากร มาตรา 57 ตรี ก าหนดใหถือเงินไดพึงประเมินของภริยาเป็นเงินได้
                   ของสามี โดยให้สามีมีหนาที่ยื่นรายการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาแทนภริยาจะกระทบกระเทือนตอสิทธิ
                   และเสรีภาพของผู้เป็นสามีอยู่บ้างก็ตาม แตํก็เทําที่จําเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษีของรัฐ และมิได

                   กระทบตอสาระสําคญแหํงสิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล  ครอบครัว และทรัพย์สินตามที่บัญญัติไวใน
                   รัฐธรรมนูญ มาตรา 29 ดังนั้น ประมวลรัษฎากร มาตรา 57 ตรี จึงไมํ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ ..มาตรา
                   30” (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 48/2545)


                           จะเห็นได๎วํา กฎหมายที่พิพาทในกรณีนี้ปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกัน กลําวคือให๎สามีนําเงินได๎ของ
                   ภริยามารวมคํานวณ แตํในทางกลับกันไมํให๎ภริยานําเงินได๎ของสามีไปรวมคํานวณกับเงินได๎ของตน โดย

                   เนื้อหาจึงเป็นความไมํเทําเทียมกันด๎วยเหตุแหํงเพศ นอกจากนี้ยังอาจพิจารณาวําเป็นความไมํเทําเทียมด๎วย
                   เหตุ “สถานะของบุคคล”  กลําวคือสถานะทางครอบครัวในความเป็นสามีและภริยาอีกด๎วย แม๎ศาล
   290   291   292   293   294   295   296   297   298   299   300