Page 294 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 294
270
- สําหรับกรณีความแตกต่างระหว่างสถานะของบุคคลในมิติการจ้างแรงงาน พบวํามีคดีที่
เกี่ยวกับสถานะของนายจ๎างและลูกจ๎าง ซึ่งจําเลยโต๎แย๎งวํา พระราชบัญญัติคุ๎มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
มาตรา 120 ให๎สิทธิเฉพาะลูกจ๎างฝุายเดียวที่มีสิทธิยื่นคําขอให๎คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพิจารณา
วินิจฉัย โดยไมํให๎สิทธิใดๆ แกํฝุายนายจ๎างและไมํได๎รับความเสมอกันในบทบัญญัติของกฎหมายเทํากับฝุาย
ลูกจ๎าง จึงขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญมาตรา 29 และ 30 อยํางไรก็ตาม ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎วเห็นวํา
กฎหมายดังกลําวเป็นกฎหมายที่มีเจตนารมณ์เพื่อคุ๎มครองลูกจ๎างผู๎มีฐานะที่ด๎อยทางเศรษฐกิจ...อีกทั้งยัง
เป็นกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร๎อยของประชาชนและบัญญัติขึ้นเพื่อแก๎ปัญหาความขัดแย๎งระหวําง
นายจ๎างและลูกจ๎างและมีเจตนารมณ์เพื่อคุ๎มครองลูกจ๎าง ..มิได๎ขัดตํอหลักความเสมอภาค และยังเป็นการ
สํงเสริมให๎ลูกจ๎างสามารถใช๎สิทธิและเสรีภาพเชํนเดียวกับนายจ๎าง ยํอมไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็น
ธรรม จึงไมํขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญมาตรา 29 และ 30 (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 33/2548) ดังนั้น
อาจกลําวได๎วําในคดีนี้ เป็นกรณีการปฏิบัติที่แตกตํางกันและเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ คือกรณี
สถานะของบุคคล อยํางไรก็ตาม การปฏิบัติอันแตกตํางดังกลําวนั้นมีเหตุผลอันสมควรประกอบกับเป็น
กฎหมายที่มุํงคุ๎มครองลูกจ๎างซึ่งเป็นกลุํมที่กฎหมายเห็นวําเสียเปรียบ จึงไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ
- กรณีที่เกี่ยวข๎องกับ “สถานะทางเศรษฐกิจ” นั้นมีประเด็นที่ ผู๎ร๎องกับพวกอ๎างวํา ประมวล
145
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง มาตรา 156 วรรคห๎า บัญญัติให๎คูํความที่ขอดําเนินคดีอยํางคนอนาถามี
สิทธิอุทธรณ์ตํอไปได๎ ค าสั่งของศาลอุทธรณ์เช่นว่านี้ให้เป็นที่สุด นั้นเป็นการตัดสิทธิหรือปิดโอกาสผู๎ซึ่งมี
ฐานะยากจนไมํมีเงินเพียงพอหรือไมํมีทรัพย์สินอื่นใดที่จะนํามาชําระคําธรรมเนียมศาลต๎องถูกจํากัดสิทธิ อัน
เป็นการขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย มาตรา 29 และ 30 ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎ว
เห็นวํา “ ... การที่ให้ค าสั่งของศาลอุทธรณ์เป็นที่สุดนั้นเนื่องจากปัญหาที่ว่าบุคคลนั้นเป็นคนยากจนหรือไม่
ได้รับการพิจารณามาแล้วถึงสองศาล และปัญหาข้อนี้ไม่ใช่ประเด็นในคดีโดยตรง จึงควรให้ยุติที่ศาลอุทธรณ์
ไม่ควรให้ยืดเยื้อฎีกาต่อไปได้อีก ซึ่งเหมาะสมและเป็นธรรมแกํคูํความแล๎ว กรณีดังกล่าวแม้เป็นการจ ากัด
สิทธิอยู่บ้างแต่ก็เป็นการจ ากัดเท่าที่จ าเป็นและไม่กระทบกระเทือนสาระส าคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพ
นอกจากนี้ยังใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่ได้มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึ่งหรือแก่บุคคลใดบุคคล
หนึ่งเป็นการเจาะจง เป็นบทบัญญัติที่ใช๎กับคูํความอยํางเทําเทียมกัน โดยไมํคํานึงถึงฐานะของคูํความแตํ
อยํางใด ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง มาตรา 156 วรรคห๎าจึงไมํขัดหรือแย๎งกับรัฐธรรมนูญ
มาตรา 29 และ 30 (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 15/2549) คดีนี้มีประเด็นเฉพาะเกี่ยวกับหลักการตาม
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพํงในสํวนที่จํากัดการอุทธรณ์คําสั่งศาลเกี่ยวกับการยกเว๎นคําธรรมเนียมโดยให๎
145 คดีนี้ตัดสินกํอนมีการแก๎ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง ทั้งนี้ตํอมาในปี 2551 มาตรา 156 ได๎มีการแก๎ไข
เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก๎ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2551 โดยหลักการ
เกี่ยวกับการอุทธรณ์คําสั่งปรากฎในมาตรา 156/1 ดังนี้ ในกรณีที่ศาลมีค าสั่งอนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลให้แต่
เฉพาะบางส่วน หรือมีค าสั่งให้ยกค าร้อง ผู้ขออาจอุทธรณ์ค าสั่งนั้นต่อศาลได้ภายในก าหนดเจ็ดวันนับแต่วันมีค าสั่ง
ค าสั่งของศาลอุทธรณ์เช่นว่านี้ให้เป็นที่สุด อยํางไรก็ตาม หลักการตามกฎหมายที่แก๎ไขใหมํยังคงให๎คําสั่งของศาลอุทธรณ์
เป็นที่สุดเชํนเดียวกับกรณีตามคดีนี้