Page 293 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 293

269


                           คณะกรรมการวินิจฉัยร๎องทุกข์เห็นวํา การเคหะแหํงชาติผํอนผันผู๎เชําซื้ออาคารบางคน ทั้งที่
                   ลํวงเลยกําหนดระยะเวลาตามแนวปฏิบัติที่การเคหะแหํงชาติกําหนดไว๎ แตํไมํผํอนผันผู๎เชําซื้ออาคารบางคน

                   นั้น ไมํมีเหตุผลอันสมควร ซึ่งถือได๎วําเป็นการเลือกปฏิบัติต่อผู้ร้องทุกข์ที่ไม่เท่าเทียมกันกับรายอื่น การ
                   เคหะแหํงชาติมีวัตถุประสงค์ในการดําเนินงานเพื่อให๎ความชํวยเหลือในด๎านที่อยูํอาศัยให๎แกํประชาชนผู๎มี
                   รายได๎น๎อยและรายได๎ปานกลาง การปฏิบัติงานของการเคหะแหํงชาติจึงควรมุํงเน๎นในทางอํานวยความ
                   สะดวกให๎แกํผู๎เชําซื้อภายในกรอบระเบียบ หลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติที่กําหนดซึ่งได๎ประกาศลํวงหน๎าให๎

                   ทราบทั่วกันและควรปฏิบัติตํอผู๎เชําซื้อทุกรายโดยเทําเทียมกัน

                           ผู๎วิจัยมีข๎อพิจารณาวํา กรณีนี้การเลือกผํอนผันเฉพาะผู๎เชําซื้อบางรายเป็นการปฏิบัติตํอบุคคล

                   แตกตํางกัน แตํไมํมีข๎อเท็จจริงวําเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนแตํอยําง
                   ใด จึงเป็นกรณีการเลือกปฏิบัติในความหมายที่แตกตํางและกว๎างกวําการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิ
                   มนุษยชน อยํางไรก็ตามหากมีข๎อเท็จจริงปรากฏวํา การผํอนผันแกํผู๎เชําซื้อบางรายนั้นเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํง
                   การเลือกปฏิบัติ เชํน เชื้อชาติ เพศ ศาสนา ฯลฯ ดังนี้อาจจัดเป็นการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิ

                   มนุษยชนได๎




                           4.4.5 การปฏิบัติที่แตกต่างกันอันจัดอยู่ใน “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ”: คดีของศาลรัฐธรรมนูญ


                           - กรณีที่เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํง “สถานะของบุคคล” นั้นพบวํามีการเปรียบเทียบระหวําง ประมวล
                   กฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง มาตรา 286 วรรคหนึ่ง (3) ซึ่งบัญญัติให๎ศาลกําหนดจํานวนสิทธิเรียกร๎อง

                   เป็นเงินของลูกหนี้ตามคําพิพากษาที่เป็นพนักงาน ลูกจ๎าง หรือคนงาน ที่ไมํใชํเป็นข๎าราชการหรือลูกจ๎างของ
                   รัฐบาลให๎อยูํในความรับผิดแหํงการบังคับคดีได๎ กับ มาตรา 286 วรรคหนึ่ง (2) ซึ่งบัญญัติให๎สิทธิเรียกร๎อง
                   เป็นเงินลักษณะเดียวกับมาตรา 286 วรรคหนึ่ง (3) ทั้งหมดที่ข๎าราชการหรือลูกจ๎างของรัฐบาลได๎รับไมํต๎อง
                   อยูํในความรับผิดแหํงการบังคับคดีโดยไมํต๎องให๎ศาลกําหนดดังเชํน มาตรา 286 วรรคหนึ่ง (3) จะเห็นได๎วํา
                   กรณีนี้ เป็นหลักกฎหมายที่วางหลัก “แตกตํางกัน”  โดยในแงํหนึ่งอาจพิจารณาได๎วํา ความแตกตํางกันนั้น

                   เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติในกรณี “สถานะของบุคคล”  อยํางไรก็ตาม ศาลรัฐธรรมนูญก็มิได๎
                   วินิจฉัยชัดเจนวํา กรณีนี้เกี่ยวข๎องกับ เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติหรือไมํ แตํจากเหตุผลในคําวินิจฉัยจะพบวํา
                   ศาลพิจารณาถึงความแตกตํางของ “สถานะ”  บุคคลระหวํางข๎าราชการกับบุคคลทั่วไป แล๎วเห็นวํามี

                   ลักษณะที่แตกตํางกัน ดังนั้น จึงวินิจฉัยวําไมํเป็นการเลือกปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ (คําวินิจฉัยศาล
                   รัฐธรรมนูญที่  34-53/2543)  ดังนั้นอาจกลําวได๎วําในคดีนี้ เป็นกรณีการปฏิบัติที่แตกตํางกันและเกี่ยวข๎อง
                   กับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ คือกรณี สถานะของบุคคล อยํางไรก็ตาม การปฏิบัติอันแตกตํางดังกลําวนั้นมี
                   เหตุผลอันสมควรดังที่ศาลได๎ชี้ให๎เห็นสถานะของบุคคลทั้งสองกลุํมในบริบทของเงินที่อยูํในขอบเขตของการ

                   บังคับคดี
   288   289   290   291   292   293   294   295   296   297   298