Page 292 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 292

268


                           คณะกรรมการวินิจฉัยร๎องทุกข์ได๎วินิจฉัยในเรื่องที่เกี่ยวกับการรับนักเรียนเข๎าโรงเรียน ส. ซึ่งเป็น
                   โรงเรียนของรัฐแหํงหนึ่ง วํา หลักเกณฑ์ที่โรงเรียนได๎กําหนดไว๎เป็นกรณีพิเศษและนํามาใช๎คัดเลือกนักเรียน

                   จากการสอบด๎วยนั้น ประกอบด๎วยหลักเกณฑ์ 4 ประการ คือ

                           (1) พิจารณารับบุตรหรือธิดาของผู๎ปกครองนักเรียน ซึ่งมีบุตรธิดาอยูํในโรงเรียนแล๎ว โดยผู๎ปกครอง

                   นั้นได๎รํวมมือในการสนับสนุนชํวยเหลือกิจการโรงเรียนด๎วยดีมาโดยตลอด

                           (2) พิจารณารับบุตรหลานของอาจารย์ในโรงเรียนหรือบุตรหลานของบูรพาจารย์


                           (3) พิจารณารับบุตรหรือธิดาของผู๎ที่ทําประโยชน์ตํอโรงเรียนมหาวิทยาลัยหรือประเทศชาติ แม๎จะ
                   ไมํมีพี่น๎องอยูํในโรงเรียนนี้มากํอน และ


                           (4) พิจารณารับเด็กของผู๎ฝากที่สําคัญจากสํวนราชการตํางๆ ที่ให๎การสนับสนุนชํวยเหลือราชการ
                   โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย


                           ปรากฏวําหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว๎เป็นกรณีพิเศษนี้มิได๎มีการประกาศให๎สาธารณชนทราบโดยทั่วไป
                   แม๎จะปรากฏวํามีอยูํในหนังสือครบรอบ 15 ปี ของโรงเรียนก็ตาม ก็ไมํอาจถือได๎วําประกาศให๎สาธารณชน

                   ทราบด๎วย หลักเกณฑ์นี้ยังเป็นหลักเกณฑ์ที่ให้ความได้เปรียบแก่บุคคลบางกลุ่ม ผู๎ปกครองที่ไมํมีบุตรหรือ
                   ธิดาเรียนในโรงเรียนและประสงค์จะให๎บุตรหรือธิดาเข๎าเรียนในโรงเรียนนี้ก็จะไมํทราบหลักเกณฑ์ดังกลําว
                   คณะกรรมการวินิจฉัยร๎องทุกข์เห็นวํา การนําหลักเกณฑ์ที่กําหนดขึ้นเป็นกรณีพิเศษนี้มาใช๎ในการคัดเลือก
                   นักเรียนนั้น มิได๎เป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งโรงเรียน ส. ทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให๎โรงเรียนใช้

                   ดุลพินิจได้ตามอ าเภอใจ อันเป็นการเลือกปฏิบัติให้เป็นคุณแก่บุคคลบางกลุ่มเทํานั้น จึงไมํเป็นธรรมตํอ
                   นักเรียนที่สมัครสอบคัดเลือกเข๎าเรียนในโรงเรียนโดยทั่วหน๎ากัน อันเป็นการขัดต่อหลักความเสมอภาคของ
                                                                              144
                   บุคคลในการเสาะแสวงหาโอกาสที่จะเข๎ารับการศึกษาในโรงเรียนของรัฐ

                           ผู้วิจัยมีข้อพิจารณาว่า กรณีนี้เป็นกฎเกณฑ์หรือนโยบายที่ปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกัน โดยหลักแล๎ว
                   เป็นการขัดตํอหลักความเสมอภาค และอาจนําไปสูํการใช๎ดุลพินิจตามอําเภอใจ แตํหากพิจารณาในกรอบ

                   กฎหมายสิทธิมนุษยชนจะเห็นได๎วํา เหตุแหํงการปฏิบัติที่แตกตํางดังกลําว ไมํมีความเกี่ยวข๎องสัมพันธ์กับ
                   เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน เชื้อชาติ สีผิว เพศ ศาสนา ฯลฯ อยํางไรก็ตาม หากมีข๎อเท็จจริงวํา การ
                   คัดเลือกเฉพาะนักเรียนที่ผู๎ปกครองหรือผู๎ฝากให๎การ “สนับสนุน” โรงเรียน โดยมีการบริจาคทรัพย์สิน อาจ
                   เกี่ยวข๎องกับการปฏิบัติแตกตํางกันด๎วยเหตุ “ฐานะทางเศรษฐกิจ”  หรือในกรณีการคัดเลือกนักเรียนที่สืบ
                   เชื้อสายจากอาจารย์ในโรงเรียน อาจเกี่ยวข๎องกับการปฏิบัติแตกตํางกันด๎วยเหตุ “บรรพบุรุษ”


                           ค าวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ที่ 13/2540







                   144
                      สมคิด เลิศไพฑูรย์, “หลักความเสมอภาค,” วารสารนิติศาสตร์ 30, 2 (มิถุนายน 2543): 178-181.
   287   288   289   290   291   292   293   294   295   296   297