Page 291 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 291

267


                   เสมอภาค จะเห็นได๎วําการเลือกปฏิบัติในกรณีนี้มิได๎เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิ
                   มนุษยชน


                           ในคดีปกครองมักจะมีกรณีที่ผู๎ฟูองคดีอ๎างวําตนถูกเลือกปฏิบัติเนื่องจากถูกดําเนินการตามกฎหมาย
                   ในขณะที่เปรียบเทียบกับบุคคลอื่นที่อยูํในสภาพเชํนเดียวกันกลับไมํถูกดําเนินคดี ในประเด็นนี้ศาลปกครอง

                   ตัดสินวํา “การที่จะถือได๎วําเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม ต๎องเป็นกรณีที่ผู๎ถูกปฏิบัติมีสิทธิโดยชอบด๎วย
                   กฎหมายแล๎วไมํได๎รับสิทธินั้น  เพราะการเลือกปฏิบัติหาใชํเป็นกรณีที่ไมํมีสิทธิตามกฎหมาย  แล๎วอ๎างวํามี
                   บุคคลอื่นฝุาฝืนกฎหมายด๎วยกันยังไมํถูกดําเนินการเป็นการเลือกปฏิบัติไมํเป็นธรรม ดังนั้น การที่ผู๎ถูกฟูอง
                   คดี ไมํอนุญาตให๎ผู๎ฟูองคดีกํอสร๎างอาคารตามคําขอและมีคําสั่งให๎รื้อถอนอาคาร เป็นการกระทําที่ชอบด๎วย

                   กฎหมาย” (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.13/2549) เชํนเดียวกับคดีที่มีประเด็นวํา คําสั่งที่ให๎รื้อถอน
                   สิ่งปลูกสร๎างออกจากเขตทางหลวงเป็นคําสั่งที่เลือกปฏิบัติ ศาลวินิจฉัยวํา การที่บุคคลใดจะอ๎างหลักแหํง
                   ความเสมอภาคเพื่อเรียกร๎องให๎ปฏิบัติตํอตนเป็นอยํางเดียวกันนั้น ยํอมทําได๎เฉพาะเพื่อเรียกร๎องให๎ปฏิบัติใน
                   สิ่งที่ชอบด๎วยกฎหมายเทํานั้น  ผู๎ที่กระทําการโดยไมํชอบด๎วยกฎหมายจึงไมํอาจอ๎างในทํานองที่วําถูกเลือก

                   ปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอตนได๎ (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.160-อ.197/2551)

                           จะเห็นได๎วํา การเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม ในบริบทของคดีปกครอง     (มาตรา 9 ของ

                   พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542) นั้น มีขอบเขตและลักษณะที่
                   แตกตํางจาก “การเลือกปฏิบัติ”  ในบริบทของกฎหมายสิทธิมนุษยชน เนื่องจากเป็นการพิจารณา “การ
                   ปฏิบัติที่แตกตํางกัน” ในกรอบของการตรวจสอบการใช๎อํานาจรัฐโดยมิชอบ และมักมีข๎อเท็จจริงที่สัมพันธ์
                   กับ “การใช๎ดุลพินิจของฝุายปกครองโดยมิชอบ” จึงอาจครอบคลุมถึงการปฏิบัติแตกตํางกันโดยไมํเป็นธรรม

                   การใช๎ดุลพินิจโดยมิชอบ ด๎วยเหตุใดๆ ที่กว๎างกวําเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน เชื้อชาติ เพศ ศาสนา ฯลฯ
                   ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน




                           4.4.4 การเลือกปฏิบัติที่กว้างกว่า “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ”:  ค าวินิจฉัยของคณะกรรมการ

                   วินิจฉัยร้องทุกข์ คณะกรรมการกฤษฎีกา

                           กํอนที่จะมีการจัดตั้งศาลปกครองนั้น ปรากฏวํามีคําร๎องตํอคณะกรรมการวินิจฉัยร๎องทุกข์

                   คณะกรรมการกฤษฎีกา ในประเด็นที่เกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติ ซึ่งมีการกลําวอ๎างและการวินิจฉัยในขอบเขต
                   ที่กว๎างกวํา “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ” ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน ดังตัวอยํางตํอไปนี้





                           ค าวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ที่ 25/2543
   286   287   288   289   290   291   292   293   294   295   296