Page 289 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 289

265


                   หรือผู๎มีสิทธิครอบครองที่ดิน ซึ่งเหตุดังกลําวนี้มิได๎จัดอยูํในเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติดังเชํน เพศ เชื้อชาติ
                   ศาสนา ฯลฯ


                           จะเห็นได๎วําในคดีปกครองที่เกี่ยวข๎องกับบริการสาธารณะนั้น ศาลปกครองพิจารณาประเด็นการ
                   เลือกปฏิบัติอยํางกว๎าง โดยการเลือกปฏิบัติในบริบทนี้ ครอบคลุมเหตุตํางๆกว๎างกวําเหตุแหํงการเลือก

                   ปฏิบัติโดยทั่วไป เชํน เพศ ศาสนา เชื้อชาติ ฯลฯ เนื่องจากศาลนําหลักกฎหมายปกครองเกี่ยวกับการเลือก
                   ปฏิบัติในบริการสาธารณะมาปรับใช๎ ดังจะเห็นได๎จากคําพิพากษาที่ศาลปกครองอธิบายไว๎วํา “ระเบียบการ
                   ไฟฟูาสํวนภูมิภาค วําด๎วยการใช๎ไฟฟูาและบริการของการไฟฟูาสํวนภูมิภาค พ.ศ. 2534 และคําสั่งการไฟฟูา
                   สํวนภูมิภาคที่ อ.5/2531 เรื่อง อัตราคําธรรมเนียมการใช๎ไฟฟูาและคําบริการ ลงวันที่ 1 สิงหาคม 2531 ไมํ

                   มีข๎อความในข๎อใดหรือตอนใดขัดหรือแย๎งตํอหลักกฎหมายปกครองทั่วไปที่ว่าหน่วยงานทางปกครองที่มี
                   อ านาจหน้าที่จัดท ากิจการบริการสาธารณะต้องจัดท าบริการสาธารณะให้มีความต่อเนื่องไม่หยุดชะงัก ต้อง
                   ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกิจการบริการสาธารณะให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนอยู่เสมอและไม่
                   เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อประชาชนผู้ขอใช้บริการ  หรือขัดหรือแย๎งตํอพระราชบัญญัติการ

                   ไฟฟูาสํวนภูมิภาค  พ.ศ.  2503  ที่บัญญัติวําการดําเนินกิจการของการไฟฟูาสํวนภูมิภาคให๎คํานึงถึงความ
                   ปลอดภัย ประโยชน์ของรัฐและประชาชน แตํอยํางใด” (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.162/2552)


                           ในการพิจารณาวําคําสั่งหรือการกระทําทางปกครองที่พิพาทเป็นการ “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็น
                   ธรรม” หรือไมํนั้น ศาลได๎เคยเปรียบเทียบลูกจ๎างกลุํมตํางๆ ซึ่งได๎รับการปฏิบัติที่แตกตํางกันด๎วยเหตุล าดับ
                   หรือช่วงเวลา ที่สมัครเข๎าเป็นสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพแตกตํางกัน วําเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม
                   ดังเชํน คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.148/2549 ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวํา หลักเกณฑ์ที่กําหนดใน

                   (ข) ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได๎ (ฉบับที่ 80) จะเห็นวําลูกจ๎างที่สมัครเป็นสมาชิก
                   กองทุนสํารองเลี้ยงชีพที่มีอายุไมํต่ํากวําห๎าสิบปีบริบูรณ์และทํางานอยูํกับนายจ๎างมาแล๎วไมํน๎อยกวําห๎าปี
                   และเกษียณอายุกํอนการเป็นสมาชิกครบห๎าปี จะมีอยูํด๎วยกัน 3 กลุํม


                           กลุํมแรกได๎แกํลูกจ๎างที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพกํอนวันที่ 13 กันยายน 2537


                           กลุํมที่สอง ได๎แกํ ลูกจ๎างที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพระหวํางวันที่ 13 กันยายน 2537
                   ถึงวันที่ 2 กันยายน 2538 และ


                           กลุํมที่สาม ได๎แกํลูกจ๎างที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพหลังวันที่ 2 ธันวาคม 2538

                           การที่ผู๎ถูกฟูองคดีที่ 2 ประกาศกําหนดเฉพาะกลุํมลูกจ๎างที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ

                   ระหวํางวันที่ 13 กันยายน 2537 ถึงวันที่ 2 ธันวาคม 2538 ให๎ได๎รับสิทธิในการยกเว๎นภาษีเงินได๎ที่ลูกจ๎าง
                   ได๎รับจากกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเมื่อออกจากงานเพราะเกษียณอายุ  ทั้งที่ลูกจ้างทั้งสามกลุ่มสมัครเป็น
                   สมาชิกกองทุนส ารองเลี้ยงชีพที่มีอายุไม่ต่ ากว่าห้าสิบปีบริบูรณ์ โดยได้ท างานกับนายจ้างมาแล้วไม่น้อยกว่า

                   ห้าปีและได้ออกจากงานเพราะเกษียณอายุก่อนการเป็นสมาชิกกองทุนส ารองเลี้ยงชีพครบห้าปีเหมือนกัน
                   ดังนั้น ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได๎ (ฉบับที่ 80) ข๎อ (ข) ที่กําหนดเฉพาะลูกจ๎างที่สมัคร
   284   285   286   287   288   289   290   291   292   293   294