Page 284 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 284

260


                   เลือกปฏิบัติ” ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน ดังนั้น จะเห็นได๎วํา หากมีการปฏิบัติที่แตกต่างกันด้วยเหตุอื่นๆ
                   เช่น เหตุเชิงพฤติกรรม ที่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งการเลือกปฏิบัติดังเช่นข้อเท็จจริงตามกรณีนี้แล้ว ก็จะ

                   ไม่อยู่ภายใต้การห้ามเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน

                           3) การปฏิบัติที่แตกตํางกันด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัตินั้นเป็นการยากในการพิสูจน์ เนื่องจากผู๎ที่

                   ปฏิบัติการอันพิพาทนั้นอาจอ๎างเหตุอื่นๆที่ไมํเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ หรือ มีการนําเหตุอื่นๆ
                   เข๎ามาประกอบการพิจารณาหรือตัดสินใจในกรณีที่มีเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติเกี่ยวข๎องอยูํด๎วย ปัญหาจึงอยูํ
                   ที่ข๎อเท็จจริงในการระบุชัดถึงมูลเหตุการปฏิบัติอันแตกตํางนั้นวํามาจากเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติหรือเหตุอื่น


                           นอกจากนี้ยังมีบางกรณีมีข๎อนําพิจารณาวํา เป็นการปฏิบัติที่แตกตํางกันด๎วยเหตุแหํงเชื้อชาติ
                   ภาษา หรือไมํ เชํน กรณีข๎อบังคับการศึกษาที่กําหนดให๎ใช๎ภาษาอังกฤษในการเขียนวิทยานิพนธ์นั้น ศาลเห็น
                   วํา เป็นกฎที่ใช๎กับนักศึกษาทุกคนที่สมัครเข๎าศึกษาในสถาบันการศึกษาของผู๎ถูกฟูองคดีตามหลักการและ

                   เงื่อนไขตํางๆ เสมอเหมือนกันทุกคนไมํมีข๎อกําหนดใดที่จะทําให๎มีการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมโดยเกิดจาก
                   ความแตกตํางตามมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยแตํอยํางใด (คําพิพากษาศาลปกครอง
                   สูงสุดที่ อ.9/2546)


                           กรณีนี้เห็นได๎วํา โดยเนื้อหาของกฎเกณฑ์ที่พิพาทซึ่งให๎ใช๎ภาษาอังกฤษในการเขียนวิทยานิพนธ์นั้น
                   ใช๎บังคับกับนักศึกษาทุกคน มิได๎มุํงหมายใช๎กับนักศึกษาบางคนด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ อยํางไรก็ตาม

                   ในอีกแงํหนึ่งอาจโต๎แย๎งได๎วํา กฎเกณฑ์นี้แม๎ใช๎กับนักศึกษาทุกคนเหมือนกัน แตํสํงผลในทางปฏิบัติให๎
                   นักศึกษาที่ใช๎ภาษาไทยเป็นภาษาหลักได๎รับความเสียเปรียบนักศึกษาที่ใช๎ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก หรือ
                   นักศึกษาที่มีความชํานาญในการเขียนภาษาอังกฤษ กับ นักศึกษาที่ไมํมีความชํานาญในการเขียน
                   ภาษาอังกฤษ จึงอาจเป็นการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อมได๎ แตํแม๎จะพิจารณาวําเป็นการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อมแล๎ว
                   ก็ยังต๎องพิจารณาวํา การปฏิบัติที่แตกตํางกันระหวํางนักศึกษานั้น อยูํบนพื้นฐานของเหตุแหํงการเลือก

                   ปฏิบัติหรือไมํ หากการปฏิบัติที่แตกตํางกันเกิดขึ้นระหวํางนักศึกษาที่ถนัดใช๎ภาษาอังกฤษ กับ นักศึกษาที่ไมํ
                   ถนัดใช๎ภาษาอังกฤษ กลําวคือเป็นกรณีเหตุ “ความสามารถทางภาษา” อาจไมํเข๎าเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ
                   แตํหากข๎อเท็จจริงปรากฏวํา กฎเกณฑ์ดังกลําวสํงผลให๎นักศึกษาบางเชื้อชาติหรือบางภาษาได๎รับความ

                   เสียเปรียบนักศึกษาบางเชื้อชาติหรือบางภาษา ดังนี้อาจจัดวําเข๎าเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติได๎












                           4.4.3 การเลือกปฏิบัติที่กว้างกว่า “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ”: คดีของศาลปกครอง
   279   280   281   282   283   284   285   286   287   288   289