Page 285 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 285
261
ประเด็นที่นําพิจารณาก็คือ การปฏิบัติที่แตกตํางกันอันไมํอยูํในเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ จะเป็นการ
เลือกปฏิบัติได๎หรือไมํ ประเด็นนี้พบวํา ในบางกรณีแม๎วําการปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้น ไมํได๎เกิดจากเหตุแหํง
การเลือกปฏิบัติ ดังที่กําหนดไว๎ตามรัฐูธรรมนูญแตํศาลปกครองก็ตัดสินวําเป็นการเลือกปฏิบัติ เชํน กรณี
ของ “คุณวุฒิการศึกษาเกียรตินิยม” ศาลปกครองตัดสินวํา การปฏิบัติที่แตกตํางกันด๎วยเหตุเกียรตินิยมนั้น
เป็นการปฏิบัติตํอบุคคลที่มีสถานะทางกฎหมายที่เหมือนกันให๎แตกตํางกัน ยํอมถือได๎วําเป็นการเลือกปฏิบัติ
โดยไมํเป็นธรรม” (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 158/2550) เชํนเดียวกับ คําพิพากษาที่ตัดสินวํา
“การกําหนดให๎ผู๎ได๎รับปริญญาตรีเกียรตินิยมทุกสาขาถือเป็นเหตุพิเศษที่จะให๎ได๎รับสิทธิคัดเลือกแทนการ
สอบแขํงขันนั้น เห็นวํา เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม” (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.
379/2550) จะเห็นได๎วํา หากพิจารณาเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายระหวํางประเทศและกฎหมาย
ตํางประเทศแล๎วจะพบวํา คุณวุฒิเกียรตินิยมหรือคุณวุฒิการศึกษาที่บํงบอกถึงผลการศึกษาที่ดีเป็นพิเศษนั้น
มิได๎อยูํในเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ เชํนเดียวกับกรณีของ “สถาบันการศึกษา” ดังนั้น กรณีที่องค์กรบางแหํง
กําหนดคัดเลือกบุคคลเข๎าทํางานโดยใช๎เกณฑ์ “สถาบันการศึกษา” ที่บุคคลนั้นจบมา แม๎เป็นการปฏิบัติที่
แตกตํางกันกลําวคือเป็นการปฏิบัติตํอบุคคลที่จบจากบางสถาบันในลักษณะที่พึงพอใจมากกวํา แตํก็ไมํ
เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน เชื้อชาติ ศาสนา เพศ อยํางไรก็ตามกรณีสถาบันการศึกษานี้ ศาล
ยังไมํเคยวินิจฉัยไว๎วําเป็นการเลือกปฏิบัติหรือไมํ แตํมีประเด็นตํอไปวํา หากกฎเกณฑ์ที่พิพาทมีการปฏิบัติที่
แตกตํางกันด๎วยเหตุสถาบันการศึกษาแตํมีความเชื่อมโยงกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติที่กฎหมายห๎าม เชํน
เชื้อชาติ แหลํงกําเนิด ก็มีความชัดเจนขึ้นวําเป็นการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุที่กฎหมายกําหนด เชํน ผู๎ถูกฟูอง
คดีชี้แจงวํา ผู๎มีคุณวุฒิปริญญาโทจากประเทศอินเดียได๎รับการพิจารณาอัตราเงินเดือนต่ํากวําผู๎มีคุณวุฒิจาก
ภายในประเทศหนึ่งขั้น ผู๎ฟูองคดีจึงเห็นวําหลักเกณฑ์การพิจารณาคุณวุฒิ สําหรับผู๎สําเร็จการศึกษาจาก
ประเทศอินเดียเป็นการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ หรือประเทศอันเป็นที่ตั้งของสถานศึกษา (คําพิพากษาศาล
ปกครองสูงสุดที่ อ.299/2551)
ในบางกรณีผู๎ฟูองคดีปกครองอ๎างวําถูกเลือกปฏิบัติและมีการใช๎ดุลพินิจโดยมิชอบ ศาลพิจารณา
จากปัจจัยที่เกี่ยวข๎องแล๎วตัดสินวํามีการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม ทั้งนี้แม๎วํากรณีดังกลําวไมํปรากฏเหตุ
แหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน เพศ ความพิการ ฯลฯ เชํน คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.399/2551 กรณีนี้
เป็นคดีปกครองที่ผู๎ฟูองคดีผํานเกณฑ์ประเมิน แตํผู๎ถูกฟูองคดีไมํตํอสัญญาจ๎างให๎แกํผู๎ฟูองคดี โดยองค์การ
บริหารสํวนตําบลผู๎ถูกฟูองคดีอ๎างวําเหตุที่ไมํพิจารณาจ๎างผู๎ฟูองคดีตํอไปเป็นเพราะตําแหนํงที่วํางนี้มีแผนที่
จะใช๎บรรจุนางสาว ภ. เข๎าเป็นพนักงานสํวนตําบลตามแผนอัตรากําลัง 3 ปี ศาลเห็นวํา กรณีของนางสาว ภ.
เป็นการบรรจุผู๎สอบแขํงขันได๎ เข๎ารับราชการเป็นพนักงานสํวนตําบลในตําแหนํงเจ๎าพนักงานการเงินและ
บัญชี มิใชํบรรจุเข๎าปฏิบัติงานในตําแหนํงเจ๎าหน๎าที่การเงินและบัญชี ซึ่งเป็นตําแหนํงลูกจ๎างชั่วคราว
เหมือนกับผู๎ฟูองคดี นอกจากนี้ ศาลยังเห็นวํา ผลการสอบข๎อเท็จจริงของคณะกรรมการสอบข๎อเท็จจริง นํา
เชื่อได๎วําเหตุที่ผู๎ถูกฟูองคดีไมํจ๎างผู๎ฟูองคดีเข๎าปฏิบัติงานตํอ เนื่องจากผู๎ถูกฟูองคดีไมํชอบพี่ชายและบิดาของ
ผู๎ฟูองคดีที่ชอบมาวุํนวายในองค์การบริหารสํวนตําบล และมีปัญหาขัดแย๎งกับผู๎บริหารเป็นการสํวนตัว
ดังนั้น ศาลจึงตัดสินวํา การที่ผู๎ฟูองคดีผํานเกณฑ์ประเมิน แตํผู๎ถูกฟูองคดีไมํตํอสัญญาจ๎างให๎แกํผู๎ฟูองคดีโดย
ไมํมีเหตุผลอันควร จึงเป็นการเลือกปฏิบัติและใช๎ดุลพินิจโดยไมํชอบด๎วยกฎหมาย