Page 281 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 281

257


                   แหํงการเลือกปฏิบัติไว๎ในขอบเขตที่จํากัดกวํากฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศ ทําให๎เกิดปัญหาต๎อง
                   ตีความวํา เหตุอื่นๆ ที่รัฐธรรมนูญไมํระบุไว๎แตํเป็นเหตุตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศนั้น

                   สามารถจัดอยูํใน “เหตุอื่นใด” ได๎หรือไมํ

                           นอกจากนี้ เมื่อเปรียบเทียบเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายไทยกับกฎหมายตํางประเทศแล๎ว

                   พบวํามีความแตกตํางกันโดยอาจจําแนกเป็น 2 กรณีดังนี้

                            (1) เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติบางกรณีกฎหมายต่างประเทศได้ขยายความจากเหตุดั้งเดิมที่ระบุ

                   ไว้ ให้กว้างเพี่อครอบคลุมการเลือกปฏิบัติที่อาจมีปัญหา เชํน กรณีการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํง “เพศ”
                   นั้น ในหลายประเทศระบุจําแนกละเอียดออกเป็น รสนิยมทางเพศ อัตลักษณ์ทางเพศ การแสดงออกทาง
                   เพศ ด๎วย ในขณะที่ประเทศไทยมีการบัญญัติไว๎เพียง “เพศ” แม๎วํา ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                   ฉบับเสนอสภาปฎิรูปแห่งชาติลงมติ มีการเพิ่มเติม“เพศสภาพ” เข๎ามาด๎วยแตํรํางดังกลําวก็ไมํมีผลบังคับ

                   และยังไมํแจกแจงรายละเอียดของเหตุอื่นๆ ที่เกี่ยวข๎อง เชํน การแสดงออกทางเพศ ฯลฯ ดังเชํนกฎหมาย
                   ตํางประเทศ อยํางไรก็ตาม กฎหมายเฉพาะเชํน พระราชบัญญัติความเทําเทียมระหวํางเพศ พ.ศ. 2558
                   มาตรา 3 ระบุเหตุแหํง “การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมระหวํางเพศ” ในขอบเขตที่กว๎างขึ้น กลําวคือ
                   รวมถึง “เพศชายหรือเพศหญิง หรือมีการแสดงออกที่แตกต่างจากเพศโดยก าเนิด” นอกจากนี้ในบางเหตุที่

                   กฎหมายตํางประเทศระบุไว๎ชัดเจน เชํน การติดเชื้อเอชไอวี ดังเห็นได๎จากกฎหมายระดับมลรัฐหลายมลรัฐ
                   ในออสเตรเลีย แตํในกรณีของไทยจะต๎องตีความของถ๎อยคําเกี่ยวกับเหตุ “สุขภาพ” ที่ระบุไว๎ในรัฐธรรมนูญ


                           (2) เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติที่กฎหมายต่างประเทศระบุครอบคลุม แต่ส าหรับประเทศไทยยังมี
                   ปัญหาว่าจะจัดอยู่ในเหตุแห่งการเลือกปฏิบัติหรือไม่ ทั้งนี้พบวําบางเหตุมิได๎ระบุไว๎โดยชัดแจ๎งตาม
                   กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศ แตํกฎหมายตํางประเทศบางประเทศกําหนดครอบคลุมขึ้นมา เพื่อ
                   เป็นการคุ๎มครองการเลือกปฏิบัติในปัจจุบันที่มีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะทางสังคม เชํน ประวัติ

                   การต๎องโทษทางอาญาซึ่งได๎รับการยกเว๎นโทษหรือรอลงอาญา  การให๎นมบุตรจากอกแมํ เหตุเหลํานี้จะได๎
                   แยกวิเคราะห์เป็นหัวข๎อตํางหากตํอไป


                           หลังจากศึกษาถึงขอบเขตความหมายของเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนแล๎ว
                   ในลําดับตํอไปจะได๎วิเคราะห์แนวคําพิพากษาของไทยโดยใช๎เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติเป็นเกณฑ์ในการ
                   จําแนกวิเคราะห์จัดกลุํมคําพิพากษาเป็นกรณีที่เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติและกรณีที่แตกตําง

                   หรือไมํเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ




                           4.4.2 การปฏิบัติที่แตกต่างกันอันจัดอยู่ใน “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ”: คดีของศาลปกครอง


                           ในบริบทของกฎหมายสิทธิมนุษยชนนั้น กฎเกณฑ์ แนวปฏิบัติ ที่สํงผลให๎เกิดความแตกตํางกัน อัน
                   จะเป็นการเลือกปฏิบัตินั้น จะต๎องมีความสัมพันธ์กับสาเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ (Discrimination
                   Grounds) ดังนั้น หากการปฏิบัติที่พิพาทสํงผลให๎เกิดความแตกตํางกัน แตํไมํปรากฏวําความแตกตํางกันนั้น
   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285   286