Page 282 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 282

258


                   เกิดจากสาเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติที่กฎหมายกําหนด ก็ยังไมํถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติตามกฎหมาย
                   อยํางไรก็ตาม ในคดีปกครองหลายคดีผู๎ฟูองคดีมักจะฟูองวําตนถูก “เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม” เนื่องจาก

                   มีความแตกตํางกันเกิดขึ้นโดยการเปรียบเทียบกับบุคคลที่อยูํในสภาพเดียวกัน ซึ่งก็จะต๎องพิจารณาตํอไปวํา
                   ความแตกตํางดังกลําวเกิดจากเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน เชื้อชาติ ภาษา เพศ ฯลฯ หรือไมํ


                           ตัวอยํางเชํน ในคดีปกครองซึ่งมีประเด็นวําพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. 2549 นั้น
                   สํงผลให๎เกิดการเลือกปฏิบัติตํอนักโทษ โดยนักโทษบางประเภทอ๎างวําไมํได๎รับการลดโทษหรือได๎รับโดยไมํ
                   เทําเทียมกันนักโทษประเภทอื่น ศาลวินิจฉัยวําไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ เชํน คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุด
                   ที่ ฟ.44/2551 ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา พระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. 2549 ไมํเป็นการ

                   เลือกปฏิบัติและเป็นบทบัญญัติที่ออกโดยชอบดวยกฎหมายแลว

                           เหตุผลจากคําพิพากษาศาลที่แสดงให๎เห็นถึงการนํา  “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ”  มาประกอบการ

                   วินิจฉัย ปรากฏดังเชํน คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ฟ.22/2554 ศาลวินิจฉัยวํา มาตรา 8 แหํง พ.ร.ฎ.
                   พระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. 2550 มิได๎มีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติตํอผู๎ฟูองคดีและนักโทษเด็ดขาดเชํนผู๎
                   ฟูองคดีโดยไมํเป็นธรรมอันเป็นการขัดตํอมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
                   2550 โดยศาลอธิบายวํา “การที่ผู๎ใช๎อํานาจรัฐปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันเพราะเหตุแหํงความแตกตํางใน

                   เรื่องถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจ
                   หรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไมํขัดตํอบทบัญญัติแหํง
                   รัฐธรรมนูญหรือ ในเรื่องอื่นใด จะถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมได๎ก็ตํอเมื่อการปฏิบัติตํอบุคคล
                   แตกตํางกันเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องตํางๆ ดังกลําว เป็นไปตามอําเภอใจ ของผู๎ใช๎อํานาจรัฐ

                   ปราศจากเหตุผลอันควรคําแกํการรับฟังเทํานั้น” อยํางไรก็ตาม ผู๎วิจัยมีข๎อสังเกตวํา คดีนี้แม๎ศาลอธิบายถึง
                   “เหตุแหํงการเลือกปฎิบัติ” แต่ไม่ได้วินิจฉัยอย่างชัดเจนในประเด็นว่า กรณีนี้เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งการเลือก
                   ปฎิบัติเหตุใด เนื่องจากศาลมุํงเน๎นไปที่การพิจารณาถึงองค์ประกอบ “ไมํเป็นธรรม” โดยใช๎อธิบายวํา การ

                   เลือกปฎิบัติจะถือได๎วํา “ไมํเป็นธรรม” เมื่อเป็นไปตามอําเภอใจ ปราศจากเหตุผลฯ

                           นอกจากนี้ คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ฟ.31/2553 ได๎อธิบายไว๎ชัดเจนวํา การปฏิบัติที่

                   แตกตํางกันระหวํางนักโทษที่ได๎รับโทษตามฐานความผิดหนึ่งกับนักโทษที่ได๎รับโทษตามฐานความผิดอื่นนั้น
                   ไม่เข้าเหตุแห่งการเลือกปฏิบัติตามที่ก าหนดไว้ในกฎหมาย ดังจะเห็นได๎จากที่ศาลอธิบายวํา “เนื้อหาของ
                   พระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. 2547  และพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ.
                   2549  เป็นการปฏิบัติตํอนักโทษเด็ดขาดซึ่งต๎องโทษตามคําพิพากษาถึงที่สุดให๎จําคุกเกินแปดปี แตํไมํถึง

                   ตลอดชีวิต ในความผิดฐานผลิตนําเข๎าหรือสํงออก หรือผลิต นําเข๎าหรือสํงออกเพื่อจําหนําย หรือจําหนําย
                   หรือมีไว๎ในครอบครองเพื่อจําหนําย ตามกฎหมายวําด๎วยยาเสพติดให๎โทษ กฎหมายวําด๎วยมาตรการในการ
                   ปราบปรามผู๎กระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด หรือกฎหมายวําด๎วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตํอจิตและประสาท
                   แตกตํางกับที่ปฏิบัติตํอนักโทษเด็ดขาดซึ่งต๎องโทษตามคําพิพากษาถึงที่สุดให๎จําคุกไมํถึงตลอดชีวิตใน

                   ความผิดฐานอื่น การเลือกอภัยโทษเฉพาะนักโทษที่กําหนดไว๎ดังกลําวยังไมํเป็นเหตุที่จะถือวําเป็นการเลือก
                   ปฏิบัติอยํางไมํเป็นธรรม การที่ผู๎ใช๎อํานาจรัฐปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันเพราะเหตุแหํงความแตกตํางใน
   277   278   279   280   281   282   283   284   285   286   287