Page 283 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 283
259
เรื่องถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจ
หรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรมหรือความคิดเห็นทางการเมือง อันไมํขัดตํอบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญฯ หรือในเรื่องอื่นใดจะถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมได๎ก็ตํอเมื่อการปฏิบัติตํอบุคคล
แตกตํางกันเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องตํางๆ ดังกลําว” จากคดีดังกลําว จะเห็นได๎วํา ความ
แตกตํางที่เกิดเพราะเหตุ “ประเภทนักโทษ” นั้น มิได๎อยูํในเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมาย ดังเชํน
กรณี เพศ เชื้อชาติ ฯลฯ แม๎เกิดความแตกตํางกันขึ้นแตํก็ไมํถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติ
ในบางกรณีก็มีประเด็นที่นําพิจารณาวําเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติหรือไมํ เชํน กรณีผู๎ไมํ
ผํานการคัดเลือกเข๎าเป็นนักศึกษาแพทย์อ๎างวําถูกเลือกปฏิบัติ (คดีหมายเลขแดงที่ อ 972/2556 คดี
หมายเลขดําที่ อ 673/2552) ข๎อเท็จจริงในคดีนี้สรุปได๎วํา ผู๎ฟูองคดีสมัครสอบคัดเลือกและผํานการสอบ
ข๎อเขียนของวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแหํงหนึ่ง แตํไมํผํานการสัมภาษณ์ ผู๎ฟูองคดีเห็นวําตนถูก
เลือกปฏิบัติ ศาลปกครองสูงสุดพิจารณาประเด็นการที่คณะกรรมการสอบสัมภาษณ์มีมติไมํรับผู๎ฟูองคดีเข๎า
ศึกษา เห็นวํากรรมการทุกคนไมํเคยมีเหตุโกรธเคืองกับผู๎ฟูองคดีมากํอน จึงไมํมีมูลเหตุจูงใจที่จะกลั่นแกล๎ง
ไมํรับผู๎ฟูองคดีเข๎าศึกษา สําหรับหลักเกณฑ์การประเมินผลการสอบสัมภาษณ์นั้น ปรากฏตามเอกสารการ
สัมภาษณ์วํา มีการก าหนดลักษณะที่ไม่พึงประสงค์เช่น “Overt Homosexuality” การแต่งตัว
กิริยามารยาทไม่เหมาะสม การควบคุมอารมณ์ไม่เหมาะสม ความไม่รับผิดชอบ ขาดมนุษยสัมพันธ์ ขาด
ความใฝุรู้ อยํางไรก็ตาม จากข๎อเท็จจริงในการพิจารณา ศาลปกครองรับฟังได๎วํา การตอบค าถามตลอดจน
กิริยาอาการของผู้ฟูองคดีในการสอบสัมภาษณ์เป็นเหตุให๎กรรมการทั้ง 9 คนมีมติไมํรับผู๎ฟูองคดีเข๎าศึกษา
ดังนั้น การใช๎ดุลพินิจของคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ในการลงมติดังกลําวจึงเป็นการพิจารณาที่มีเหตุผล
เหมาะสมและชอบด๎วยกฎหมายแล๎ว นอกจากนี้ การคัดเลือกบุคคลเข๎าศึกษาวิชาแพทยศาสตร์ยํอมต๎อง
คัดเลือกจากผู๎มีความรู๎ความสามารถ สภาพกายและสภาพจิตใจเหมาะสมที่จะประกอบวิชาชีพแพทย์
คณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ยํอมสามารถใช๎ดุลพินิจโดยพิจารณาจากบุคลิกลักษณะและสภาวะทางอารมณ์
ของผู๎เข๎าสอบสัมภาษณ์ได๎ อีกทั้งคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ก็มิได้พิจารณาไม่รับผู้ฟูองคดีเพราะเหตุด้าน
บุคลิกภาพแต่ประการเดียว แตํยังปรากฏความไมํเหมาะสมด๎านอื่นอีกหลายประการที่เป็นเหตุผลในการไมํ
รับผู๎ฟูองคดีเข๎าศึกษา การพิจารณาของคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์จึงไมํใชํการกระทําที่ต๎องห๎ามตาม
มาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จากคดีดังกลําว ผู๎วิจัยมีข๎อพิจารณา
ดังนี้
1) “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ” ในกรณีนี้ หากปรากฏวํา กรรมการคัดเลือกตัดสินจาก การ
แสดงออกทางเพศ เชํน “Overt Homosexuality” ก็จะเป็นกรณีการปฏิบัติที่แตกตํางกับบุคลด๎วยเหตุ
รสนิยมทางเพศ ซึ่งเป็นเหตุที่ได๎รับการคุ๎มครองตามกฎหมาย อยํางไรก็ตาม แม๎จะมีการปฏิบัติที่แตกตํางกัน
ด๎วยเหตุรสนิยมทางเพศ แตํหากมีเหตุผลอันสมควร เชํน สามารถแสดงให๎เห็นความจําเป็นของคุณสมบัตินั้น
ตํอการทํางานหรือการศึกษาได๎ ก็อาจไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ
2) ในคดีนี้ปรากฏวํา นอกจากเหตุเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศแล๎ว มีเหตุอื่นอีกหลายเหตุที่กรรมการ
นํามาพิจารณา เชํน การตอบค าถาม กิริยาอาการ จะเห็นได๎วํา เหตุเหลํานั้นไมํเกี่ยวข๎องกับ “เหตุแหํงการ