Page 277 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 277

253



                                         กฎหมาย                          การใช้ค าที่มีความหมาย “เลือกปฏิบัติ”
                   ระเบียบคณะกรรมการสํงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน       การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม

                   พิการแหํงชาติวําด๎วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการ
                   ร๎องขอ การรวบรวมพยานหลักฐานการไกลํเกลี่ย การวินิจฉัย
                   และคําตอบแทนของคณะอนุกรรมการหรือผู๎ไกลํเกลี่ย

                   เกี่ยวกับการกระทําในลักษณะที่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํ
                   เป็นธรรมตํอคนพิการ พ.ศ. 2556



                   พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ. 2551  การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม
                   (มาตรา 8)

                   พระราชบัญญัติคุ๎มครองแรงงานพ.ศ. 2541 (มาตรา 11/1     ไมํเลือกปฏิบัติ
                   มาตรา 89)

                   พระราชบัญญัติการปูองกันและแก๎ไขปัญหาการตั้งครรภ์ใน   ไมํถูกเลือกปฏิบัติ

                   วัยรุํน พ.ศ. 2559





                           ดังนั้นจึงเห็นวํา การใช๎คํา “การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม” ในบริบทของกฎหมายไทยมีลักษณะ
                   ที่แตกตํางจากการใช๎คําดังกลําวในประเทศที่มีกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติเป็นกฎหมายเฉพาะใน
                   ลักษณะของกฎหมายกลางที่ครอบคลุมการเลือกปฏิบัติในมิติตํางๆ เชํน แคนาดา ฟินแลนด์ สวีเดน เป็นต๎น
                   นอกจากนี้ หากเปรียบเทียบกับการใช๎คําเกี่ยวกับ “การเลือกปฏิบัติ”  ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวําง

                   ประเทศภายใต๎กรอบสหประชาชาติดังที่ได๎วิเคราะห์และจําแนกตามตารางดังกลําวข๎างต๎น จะเห็นได๎วํา
                   กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศมีการจําแนกระหวํางการปฏิบัติที่แตกตํางกัน (Differential
                   Treatment หรือ Distinction) ซึ่งไมํต๎องห๎ามตามกฎหมาย กับ “การเลือกปฏิบัติ” (Discrimination) ที่

                   ต๎องห๎ามตามกฎหมาย โดยมิได๎ใช๎คําวํา “การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม”  แตํอยํางไร เนื่องจากหากการ
                   ปฏิบัติแตกตํางกันนั้นไมํอาจอ๎างเหตุที่ชอบด๎วยกฎหมายแล๎ว ก็จะถือวําเป็นการ “เลือกปฏิบัติ” ซึ่งมีนัยที่ไมํ
                   เป็นธรรมหรือไมํชอบด๎วยกฎหมายอยูํในตัวเอง


                           ด๎วยเหตุนี้ หากไทยมีการบัญญัติกฎหมายห๎ามเลือกปฏิบัติในลักษณะกฎหมายกลางดังเชํนประเทศ
                   ตํางๆ ที่มีกฎหมายลักษณะนี้ ก็ควรจะมีการใช๎ถ๎อยคําให๎สอดคล๎องกับหลักกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวําง
                   ประเทศและกฎหมายประเทศตํางๆ เพื่อจําแนกความแตกตํางระหวําง


                           (ก)  การเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนที่มีขอบเขตเฉพาะการปฏิบัติที่แตกตํางกันอัน
                   เกี่ยวเนื่องจากเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตํางๆ และ
   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281   282