Page 276 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 276
252
บทของกฎหมายปกครองดังกลําวมาแล๎ว แตํกระนั้นก็ตามในประเด็นพิพาทมีกฎหมายที่ปฏิบัติตํอบุคคล
“แตกตํางกัน” มักมีการอ๎างเหตุที่กว๎างวํา “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ” ที่รัฐธรรมนูญระบุไว๎ ในประเด็นนี้จะ
ได๎แยกวิเคราะห์ตํอไป
นอกจากนี้ ยังพบวํา จากการที่รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยกําหนดถ๎อยคํา “การเลือกปฏิบัติ
โดยไมํเป็นธรรม” ดังกลําว สํงผลให๎กฎหมายเฉพาะที่มีหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติหลายฉบับได๎ใช๎รูปแบบและ
ถ๎อยคําตามรัฐธรรมนูญ อยํางไรก็ตามพบวํามีกฎหมายเฉพาะบางฉบับมิได๎ใช๎ถ๎อยคํา “การเลือกปฏิบัติโดย
ไมํเป็นธรรม” ดังจะได๎สรุปแจกแจงการบัญญัติถ๎อยคําตามกฎหมายไทยเกี่ยวกับ “การปฏิบัติที่แตกตํางกัน
อันต๎องห๎ามตามกฎหมาย” หรือ “การเลือกปฏิบัติ” ตามตารางตํอไปนี้
ตารางเปรียบเทียบการใช้ถ้อยค าเกี่ยวกับ “การเลือกปฏิบัติ” ตามกฎหมายฉบับต่างๆ ของไทย
กฎหมาย การใช้ค าที่มีความหมาย “เลือกปฏิบัติ”
รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 (มาตรา การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม
30)
รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 (มาตรา การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม
30)
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม
ปกครอง พ.ศ. 2542 (มาตรา 9)
พระราชบัญญัติคุ๎มครองเด็ก พ.ศ. 2542 (มาตรา 22) การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม
กฎกระทรวงกําหนดแนวทางการพิจารณาวําการกระทําใด การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม
เป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็กหรือเป็นการเลือกปฏิบัติ
โดยไมํเป็นธรรมตํอเด็ก พ.ศ. 2549
พระราชบัญญัติสํงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหํงชาติ การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม
พ.ศ. 2550 (มาตรา 7)
พระราชบัญญัติสํงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม
พ.ศ. 2550 (มาตรา 15)