Page 265 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 265

241


                   เลือกปฏิบัติจะถือเป็นการเลือกปฏิบัติ (Discrimination)  ที่ต๎องห๎ามตามกฎหมาย แตํก็มีการกําหนด
                   ข๎อยกเว๎นในแตํละมิติไว๎ เชํน ในมิติของการจ๎างแรงงาน กําหนดยกเว๎นไว๎มีหลักวํา การปฏิบัติที่แตกตํางกัน

                   (Differential  Treatment)  บนพื้นฐานของคุณลักษณะ (Characteristics)  ของบุคคลซึ่งมีความจําเป็น
                   อยํางแท๎จริงและสําคัญสําหรับงานนั้นโดยมีวัตถุประสงค์ที่ชอบด๎วยกฎหมาย..ไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติ
                   กลําวคือ เป็นเพียง “การปฏิบัติที่แตกตํางกัน (Differential  Treatment)”  เทํานั้น ด๎วยเหตุนี้ ตาม
                   กฎหมายสวีเดนจึงมีเฉพาะ “การเลือกปฏิบัติ”  ที่ต๎องห๎ามตามกฎหมาย กับ “การปฏิบัติที่แตกต่างกัน”

                   ซึ่งไมํต๎องห๎ามตามกฎหมาย มิได๎มีการใช๎คําวําการเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรมและการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม
                   แตํอยํางไร


                           ในกรณีของเยอรมันนั้น รัฐธรรมนูญเยอรมัน เรียกการปฏิบัติที่ต๎องห๎ามตามกฎหมายวํา “การ
                   เลือกปฏิบัติ” โดยมิได๎ใช๎คําวํา “เป็นธรรม” หรือ “ไมํเป็นธรรม” ในการจําแนกความแตกตํางระหวํางการ
                   ปฏิบัติซึ่งต๎องห๎ามและไมํต๎องห๎ามตามรัฐธรรมนูญ สําหรับหลักเกณฑ์หรือแนวทางในการจําแนกความ

                   แตกตํางระหวํางการ “เลือกปฏิบัติ” ซึ่งต๎องห๎ามตามรัฐธรรมนูญ กับการกระทําที่ไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติ
                   นั้น ตัวบทของรัฐธรรมนูญมาตรา 3 มิได๎กําหนดไว๎ชัดแจ๎ง อยํางไรก็ตาม ศาลรัฐธรรมนูญแหํงสหพันธ์ของ
                   เยอรมันนําหลักเกณฑ์ตํางๆ มาประกอบการวินิจฉัย เชํนนํา “การใช้อ านาจตามอ าเภอใจ”        มา
                   ประกอบการพิจารณา กลําวคือ คําพิพากษาได๎วินิจฉัยหลักความเสมอภาควําหมายถึงการ “ห๎ามมิให๎ปฏิบัติ

                   แตกตํางกันในสิ่งที่เหมือนกันอยํางอําเภอใจ และห๎ามมิให๎ปฏิบัติเหมือนกันตํอสิ่งที่มีสาระสําคัญแตกตํางกัน
                                136
                   อยํางอําเภอใจ”  รวมทั้งการนํา “หลักความได้สัดส่วน” มาประกอบการพิจารณา กลําวคือ “การปฏิบัติ
                   อยํางไมํเทําเทียมกันนั้นต๎องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายและวิธีการเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของ
                                                                  137
                   กฎหมายต๎องเป็นวิธีการที่มีความเหมาะสมและจําเป็น”  อีกทั้งยังมีคดีที่ใช๎หลักการพิจารณาวํา “ความ
                                                                                                 138
                   แตกตํางในทางข๎อเท็จจริงนั้นมีเหตุผลอันสมควรที่จะนําไปสูํการปฏิบัติให๎แตกตํางกันหรือไมํ”  ดังนี้หาก
                   เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญของไทยกับเยอรมัน จะเห็นได๎วํา แม๎รัฐธรรมนูญของทั้งสองประเทศ จะมีโครงสร๎าง
                   การกําหนดหลักความเทําเทียมกันและหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติคล๎ายคลึงกัน กลําวคือ เริ่มจากการวางหลัก
                   ความเทําเทียมกันโดยทั่วไปและวางหลักห๎ามเลือกปฏิบัติ อยํางไรก็ตาม รัฐธรรมนูญไทยมีการใช๎คํา “เลือก

                   ปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม”  เพื่อบํงบอกถึงการปฏิบัติอันต๎องห๎ามในขณะที่รัฐธรรมนูญเยอรมันมิได๎ใช๎คําใน
                   ลักษณะดังกลําว เพียงแตํใช๎คําวํา “การเลือกปฏิบัติ” เทํานั้น นอกจากนี้ แม๎รัฐธรรมนูญเยอรมันมิได๎กําหนด
                   หลักเกณฑ์หรือแนวทางในการพิจารณาจําแนก การเลือกปฏิบัติที่ต๎องห๎ามตามกฎหมาย กับ การปฏิบัติที่

                   แตกตํางกันแตํไมํต๎องห๎ามตามกฎหมาย เชํนเดียวกับรัฐธรรมนูญของไทย แตํศาลเยอรมันได๎มีการพัฒนา
                   หลักเกณฑ์หรือแนวทางไว๎ซึ่งอาจเปรียบเทียบกับแนวคําพิพากษาศาลไทยดังจะได๎วิเคราะห์ตํอไป







                   136  บรรเจิด สิงคะเนติ, หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (กรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2558),
                   หน๎า 133-134.
                   137  เรื่องเดิม, หน๎า 134.
                   138
                      เรื่องเดิม, หน๎า 140.
   260   261   262   263   264   265   266   267   268   269   270